Page 126 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 126

4-2





                                 ่
                   
                                                                                                     ั
                  คอย ๆ ถูกปรับเปลียนประเภทการใชที่ดินเปนพืชอื่นที่ใหผลตอบแทนสูงกวา ดังนั้น เพื่อเปนการอนุรักษพนธุ
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรซึ่งเปนพืชที่มีความโดดเดนที่ปลูกในประเทศไทยเพียงแหงเดียว และเพื่อเปนการ
                  คุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร พรอมทั้งสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหม ี
                  สภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาว และพัฒนาพืช GI บางชนิดใหกลับมามีความหลากหลายทางชีวภาพเชนเดม
                                                                                                      ิ
                            ี
                                                               
                                                                      ั
                                                                      ้
                  รัฐบาลควรมนโยบายสนับสนุนในการพฒนาการผลิตสินคาเกษตรทงระบบ โดยการเพมประสิทธิภาพการผลิต
                                                                                    ่
                                                                                    ิ
                                                ั
                  สินคาเกษตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรใหไดมาตรฐาน เพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิต
                                                  
                  ที่ดีขึ้น ภายใตยุทธศาสตรการปรับโครงสรางสินคาเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งมีเปาหมาย
                  ในการพัฒนาการเกษตรทั้งระบบ ตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร เปนการสรางความ
                  มั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร โดยแนวทางของกรมพัฒนาที่ดิน คือ การสนับสนุนฐานขอมูลสำหรับ
                                                            ี
                                                                                                ่
                                                                                                ื
                                                            ่
                  ยุทธศาสตรการพัฒนาพืช GI โดยการวางแผนการใชทดนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศไทยเพอสงเสริม
                                                              ิ
                                            ั
                  สนับสนุนการใชที่ดินใหตรงตามศกยภาพ
                         การวางแผนการใชที่ดินเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร จะพิจารณาจัดทำ
                  เขตการใชที่ดินในพื้นที่ที่มีการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยการวิเคราะหขอมูลสภาพการใชที่ดิน
                  ของกรมพัฒนาที่ดินรวมกับขอบเขตตามประกาศพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของกรมทรัพยสินทางปญญา
                  แลวคดเลือกเฉพาะพนทเกษตรกรรมในจังหวัดทมการปลูกพชบงชีทางภูมศาสตรอยูในปจจุบัน มาวิเคราะห
                                   ื้
                                     ี่
                                                                            ิ
                                                                                    
                                                                      ้
                       ั
                                                        ี
                                                         ี
                                                        ่
                                                                  ื
                  กำหนดเขตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่มีศักยภาพในการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ในระดับที่เหมาะสมมาก
                  ปานกลาง และเล็กนอย โดยมีการนำขอมูลดานกายภาพ มาวิเคราะหรวมกับขอมูลเศรษฐกิจ-สังคม และ
                  ขอมูลนโยบายของประเทศ เพื่อวางแผนกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และวางแผนขยาย
                                                                    ้
                                                               ื
                                                                          ิ
                                                      
                                ื้
                                   ี่
                                                                                       ้
                                                                                       ั
                           ื
                                     ี
                                       ั
                  พื้นที่ปลูกพชในพนททีมศกยภาพเหมาะสมตอการปลูกพชบงชีทางภูมศาสตร พรอมทงจัดทำเขตเหมาะสม
                                    ่
                  มากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และเขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ไวดวย โดยไดดำเนินการวิเคราะหและประเมินคุณภาพที่ดิน ทั้งระดับความตองการปจจัยสำหรับ
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ดานคุณภาพของดิน และสภาพภูมิอากาศ เพื่อจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับ
                                                                                                      ิ
                                                                                                     ี
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรในพื้นที่เกษตรกรรมที่อยูนอกพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย แลวนำมาจัดทำเขตการใชท่ดน
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งแผนการใชที่ดินตองมาจากการประเมินอยางเปนระบบของศักยภาพของที่ดน
                                                                                                      ิ
                  และน้ำ โดยคำนึงถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยกำหนดแผนการใชที่ดินทางเลือกสำหรับการใชประโยชน
                                               ี่
                                                                                      ี่
                                                                                         ่
                  ที่ดิน เพื่อนำทางเลือกการใชที่ดินทดีที่สุดมาใช (FAO, 1993) โดยเปาหมายของพื้นทเพือการวางแผนการ
                                                                          
                                                                                   ั
                                                                                             
                                                                         ิ
                                               ิ
                                              ่
                                              ี
                                                            ิ
                  ใชที่ดินจากการกำหนดเขตการใชทดนพืชบงชี้ทางภูมศาสตร นำมาพจารณารวมกบหลักเกณฑของการแบง
                                                                                                   
                                          ิ
                                                                           ี่
                  เขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมศาสตร สามารถวิเคราะหจัดทำเขตการใชทดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ไดดังนี้
                         1) เขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-I)
                                                                                                 ่
                            เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เปนบริเวณทีมีระดับ
                                                                                       ื
                                                                                                 ิ
                                                                  ิ
                                                                                           ้
                  ความเหมาะสมทางกายภาพของทีดนสูง (S1) สภาพการใชทดนปจจุบันเปนพ้นท่ปลูกพชบงชีทางภูมศาสตร
                                              ิ
                                                                               ื
                                                                                 ี
                                                                 ่
                                                                 ี
                                             ่
                  อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา พื้นที่ปลูกอยูในบริเวณที่ไมไกล
                  จากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ตามหลักการวางแผนการใชที่ดินของ FAO (1993)
                                                                                 ี
                  ปจจุบันเกษตรกรมีการใชพื้นที่ดังกลาวเพื่อปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มการรวมกลุมของเกษตรกร
                  ผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรมีการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรกับกรมสงเสริม
                                                                          ี
                  การเกษตร มีการขึ้นทะเบียนสินคา GI กับกรมทรัพยสินทางปญญา มการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาด
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131