Page 131 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 131

4-7





                  และตางประเทศและปริมาณความตองการบริโภคในประเทศ เนื่องจากมีการสงเสริมการปลูกมะพราว

                  น้ำหอมในอดีต และมีการขยายพื้นที่ปลูกมะพราวน้ำหอม 50,000 ไร เพื่อปอนใหโรงงานอุตสาหกรรม
                                            
                  จึงกำหนดเปาหมายตามความตองการของโรงงานอุตสาหกรรมเปนหลัก โดยเปาหมายจะคำนวณในเชิง
                                                                                                      
                  พื้นที่ ไมระบุเปนน้ำหนักรวมเหมือนพืชอื่น ๆ ผลวิเคราะหเปาหมายผลผลิต มะพราวน้ำหอมบานแพว
                  ดังตารางที่ 4-5 และสามารถกำหนดเขตการใชที่ดินพืช GI มะพราวน้ำหอมบานแพว จังหวัดสมทรสาคร
                                                                                                ุ
                  ดังรูปที่ 4-5

                         ่
                         ี
                  ตารางท 4-5  เปาหมายการผลิตมะพราวน้ำหอมบานแพว ตามเขตการใชที่ดิน
                     
                   เปาหมายการผลิต                 เขตการใชทดิน                               เนื้อท (ไร)
                                                           ี
                                                           ่
                                                                                                  ี่
                         (ไร)
                      65,000 ไร   เขตเหมาะสมมาก  (Z – I)                                       53,559
                                   เขตเหมาะสมปานกลาง (Z – II)                                    6,681
                                   เขตเหมาะสมเล็กนอย (Z – III)                                     416
                                                
                                   เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก (Z – E1)               4,537
                                                      รวม                                       65,193

                  ที่มา : จากการวิเคราะหขอมูล

                        4.2.6 การจัดทำเขตการใชทดนลำไยพวงทองบานแพว พจารณากำหนดเขตจากพนทปลูกตามประกาศ
                                               ิ
                                              ่
                                              ี
                                                                                       ื
                                                                                         ี
                                                                                         ่
                                                                 
                                                                    ิ
                                                                                       ้
                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการของตลาดในประเทศและ
                                                                                                      
                  ตางประเทศและปริมาณความตองการบริโภคในประเทศ เนื่องจากพื้นที่ปลูกลำไยพวงทองบานแพว
                  ตองมีการกำหนดระยะปลูก จึงจะผานการรับรอง และไดรับตราสัญลักษณ GI จากกรมทรัพยสิน
                                      ี
                                      ่
                  ทางปญญา เขตการใชทดินในเขตเหมาะสมมากตองเปนพืชเดี่ยวเทานั้น ผลวิเคราะหเปาหมายผลผลิต
                  ลำไยพวงทองบานแพว ดังตารางที่ 4-6 และสามารถกำหนดเขตการใชที่ดินพืช GI ลำไยพวงทองบานแพว
                                                                                                      
                          ุ
                  จังหวัดสมทรสาคร ดังรูปที่ 4-6
                         ี
                  ตารางท 4-6  เปาหมายการผลิตลำไยพวงทองบานแพว ตามเขตการใชที่ดิน
                         ่
                                                               ่
                                                               ี
                     เปาหมายการผลิต                   เขตการใชทดิน                          เนื้อท (ไร)
                                                                                                 ี่
                       
                          (ไร)
                         8,500        เขตเหมาะสมมาก  (Z – I)                                   3,453
                                      เขตเหมาะสมปานกลาง (Z – II)                               1,075
                                      เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพนทเพาะปลูก (Z – E1)              4,064
                                                            ื
                                                            ้
                                                              ี
                                                              ่
                                                     รวม                                       8,592
                  ที่มา : จากการวิเคราะหขอมูล











                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136