Page 130 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 130

4-6





                        4.2.3 การจัดทำเขตการใชที่ดินลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม พิจารณากำหนดเขตจากพื้นที่ปลูก

                  ตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการของตลาดในประเทศ
                  และตางประเทศและปริมาณความตองการบริโภคในประเทศ พบวาในป พ.ศ. 2560 มีการปลูกลิ้นจี่คอม
                                                                      ุ
                                                                                                ี
                    ุ
                                                                 
                  สมทรสงคราม 7,000 ไร และป พ.ศ. 2565 มีการปลูกลิ้นจี่คอมสมทรสงคราม 5,000 ไร จะเห็นวามแนวโนม
                  การปลูกลดลง ในการพิจารณากำหนดเขตการใชที่ดิน จึงรักษาปริมาณพื้นที่ปลูกเดิมไว และควรสงเสริม
                  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเพอใหผลผลิตตอไรเพมขน และแนะนำเขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพื้นที่เพาะปลูก
                                     ื่
                                                     ิ่
                                                       ึ้
                  ไวเพียง 1,000 ไร เพื่อไมใหกระทบตอพื้นที่การผลิตพืชอื่น ผลวิเคราะหเปาหมายผลผลิตลิ้นจี่คอม
                  สมุทรสงคราม ดังตารางที่ 4-3 และสามารถกำหนดเขตการใชที่ดินพืช GI ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  จังหวัดสมทรสงคราม ดังรูปที่ 4-3
                          ุ
                         ี
                  ตารางท 4-3  เปาหมายการผลิตลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม ตามเขตการใชที่ดิน
                         ่
                     
                   เปาหมาย                 เขตการใชทดิน              ผลผลิตเฉลีย   เนื้อท  ี่  ผลผลิตรวม
                                                    ่
                                                                               ่
                                                    ี
                                                                                                ่
                    การผลิต                                           (กิโลกรัม/ไร)   (ไร)   เฉลีย (ตัน)
                     (ตัน)
                     3,000   เขตเหมาะสมมาก  (Z – I)                      >500       4,922      2,500
                             เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพนทเพาะปลูก (Z – E1)   >500     1,000        -
                                                     ่
                                                   ้
                                                   ื
                                                     ี
                                                รวม                                  5,922     2,500
                  ที่มา : จากการวิเคราะหขอมูล
                        4.2.4 การจัดทำเขตการใชที่ดินสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม พิจารณากำหนดเขตจากพื้นที่ปลูก
                  ตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการของตลาดในประเทศ
                  และตางประเทศ และปริมาณความตองการบริโภคในประเทศ เมื่อวิเคราะหขอมูลโดยใชระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตรวิเคราะหพื้นที่ และวิเคราะหรวมกับนโยบายตาง ๆ ของจังหวัดสมุทรสงคราม
                  สามารถวิเคราะหเปาหมายผลผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงคราม ดังตารางที่ 4-4 และสามารถกำหนดเขต
                                                                 ุ
                  การใชที่ดินพืช GI สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม จังหวัดสมทรสงคราม ดังรูปที่ 4-4
                  ตารางที่ 4-4  เปาหมายการผลิตสมโอขาวใหญสมทรสงคราม ตามเขตการใชที่ดิน
                                                         
                                                           ุ
                                                    ี
                                                                              ่
                                                    ่
                     
                    เปาหมาย                เขตการใชทดิน              ผลผลิตเฉลีย  เนื้อท  ี่  ผลผลิตรวม
                                                                                               ่
                    การผลิต                                           (กิโลกรัม/ไร)   (ไร)   เฉลีย (ตัน)
                     (ตัน)
                    23,000  เขตเหมาะสมมาก  (Z – I)                      >1,500    14,069       21,000
                             เขตเหมาะสมปานกลาง (Z – II)               1,000-1,499    973        1,200
                             เขตเหมาะสมมากสำหรับขยายพนทเพาะปลูก (Z – E1)   >1,500    333                -
                                                   ื
                                                   ้
                                                     ี
                                                     ่
                                                รวม                               15,375       22.200
                  ที่มา : จากการวิเคราะหขอมูล
                        4.2.5 การจัดทำเขตการใชที่ดินมะพราวน้ำหอมบานแพว พิจารณากำหนดเขตจากพื้นที่ปลูก
                  ตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการของตลาดในประเทศ







                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135