Page 80 - Plan GI
P. 80

3-32






                  โดยปริมาตร ดินมีการระบายน้ำดี มีปริมาณอินทรียวัตถุสูง (รอยละ 5) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน

                  ประโยชนคอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ
                  (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขาง
                  ราบเรียบที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน หรือบางพื้นที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                  ที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินภูพาน (Pu) ที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทราย
                  ปนดินรวน สีน้ำตาลเขมหรือ สีน้ำตาลปนแดงเขม จึงทำใหดินมีการระบายน้ำดี และดินลางเปนดินรวน

                  ปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลปนแดงเขมหรือสีน้ำตาลปนเหลืองเขม ในดินชั้นลาง
                  ชวงตั้งแต 50 เซนติเมตรลงไป อาจพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ รอยละ 15-35
                  โดยปริมาตร มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอ

                  กิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย หรือพื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาด และอยูนอกเขตชลประทาน
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินปกธงชัย (Ptc) ที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                  สีน้ำตาลเขมหรือสีน้ำตาลปนแดงเขม และดินลางเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย สีแดง
                  ปนเหลืองถึงสีแดง มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอ
                  กิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบที่อยู

                  นอกเขตชลประทาน หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน หรือพื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาดที่อยูนอกเขตชลประทาน ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดี
                               จากลักษณะและสมบัติของชุดดินที่พบมากในพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนและอยูในขอบเขต
                  พื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามประกาศฯ นั้น พบวา ดินสวนใหญมีลักษณะเปนดินลึกมาก

                  โดยมีความลึกของดินมากกวา 150 เซนติเมตร เปนดินที่มีการระบายน้ำดี มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางสูง
                  ถึงสูง พื้นที่ปลูกทุเรียนพบในสภาพพื้นที่ตั้งแตพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย ไปจนถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดที่อยูในและนอกเขตชลประทาน บางพื้นที่มีการยกรองเพื่อ

                  ปลูกทุเรียนในดินลุม เชน ชุดดินละหานทราย (Lah) ชุดดินโนนแดง (Ndg) ชุดดินรอยเอ็ด (Re)
                  และชุดดินศีขรภูมิ (Sik) เปนตน อยางไรก็ตามพื้นที่ปลูกทุเรียนสวนใหญอยูในดินดอน เชน ชุดดินโชคชัย
                  (Ci) ชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) ชุดดินภูพาน (Pu) ชุดดินปกธงชัย (Ptc) และชุดดินวังน้ำเขียว (WK) เปนตน



















                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85