Page 84 - Plan GI
P. 84

3-36






                        3.2.2    กระเทียมศรีสะเกษ

                               จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดศรีสะเกษ (กองนโยบายและ
                  แผนการใชที่ดิน, 2562) ขอมูลพื้นที่กระเทียมที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) (กรมสงเสริม

                  การเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis)
                  ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลขอบเขต
                  การปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                  ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 112 หนวยที่ดิน

                  (ตารางภาคผนวกที่ 2) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 65 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 1,168,645 ไร คิดเปน
                  รอยละ 59.70 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป
                  หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) และหนวยที่ดินที่มีการพูนโคน
                  และอยูในเขตชลประทาน (IM4) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 34 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 439,003 ไร คิดเปน

                  รอยละ 24.53 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนทั่วไป
                  หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยที่ดินที่มีคันนาและอยูใน
                  เขตชลประทาน (IM3) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุม 13 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 96,877 ไร คิดเปนรอยละ
                  5.41 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/

                  ดินลุมทั่วไป หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุมที่มี
                  การพูนโคน (M4) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุมที่มีการพูนโคนและอยูในเขตชลประทาน (IM4)
                  หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุมที่มีคันนา (M3) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุมที่มีคันนาและอยูใน
                  เขตชลประทาน (IM3) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 185,563 ไร คิดเปนรอยละ 10.36 ของพื้นที่

                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่น้ำ และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-30)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-31) โดยในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ พบวา

                  กลุมดินรวนหยาบมีเนื้อที่ 836,467 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปนรอยละ
                  46.73 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 351,324 ไร (รอยละ 19.63)
                  กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 90,429 ไร (รอยละ 5.05) กลุมดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 90,423 ไร (รอยละ 5.05)

                  และกลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด-กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 74,158 (รอยละ 4.14) เปนตน
                               อยางไรก็ตามพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดมีเนื้อที่ 21,569 ไร หรือรอยละ 1.20
                  ของพื้นที่ตามประกาศฯ พบวา มีพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมในกลุมดินรวนหยาบมากที่สุด มีเนื้อที่ 17,427 ไร
                  หรือรอยละ 80.80 ของพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวน
                  ละเอียด มีเนื้อที่ 2,574 ไร หรือรอยละ 11.93 ของพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ

                  กลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด-กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 595 ไร หรือรอยละ 2.76 ของพื้นที่
                  เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด มีเนื้อที่ 528 ไร
                  หรือรอยละ 2.45 ของพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ และพบกระเทียมที่เพาะปลูก








                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89