Page 79 - Plan GI
P. 79

3-31






                  หนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 241,521 ไร คิดเปนรอยละ 15.36 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟ

                  ศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่น้ำ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่ลาดชันเชิงซอน และพื้นที่
                  เบ็ดเตล็ดอื่นๆ (รายละเอียดดังรูปที่ 3-27)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน

                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-28) โดยในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามประกาศฯ
                  พบวา กลุมดินรวนหยาบมีเนื้อที่ 321,681 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปน
                  รอยละ 20.47 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 220,716 ไร (รอยละ 14.04)
                  กลุมดินตื้น-ที่ดินหินพื้นโผล มีเนื้อที่ 220,632 ไร (รอยละ 14.04) กลุมดินทราย มีเนื้อที่ 195,767 ไร

                  (รอยละ 12.46) กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 136,655 (รอยละ 8.70) เปนตน
                               อยางไรก็ตามพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดมีเนื้อที่ 11,109 ไร หรือรอยละ 0.71
                  ของพื้นที่ตามประกาศฯ พบวา มีพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนในกลุมดินเหนียวมากที่สุด มีเนื้อที่ 6,041 ไร
                  หรือรอยละ 54.38 ของพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินตื้น

                  มีเนื้อที่ 3,647 ไร หรือรอยละ 32.83 ของพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                  กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 771 ไร หรือรอยละ 6.94 ของพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดในพื้นที่
                  ตามประกาศฯ และพบทุเรียนที่เพาะปลูกในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ เนื้อที่ 650 ไร หรือรอยละ 5.85
                  ของพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ

                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามประกาศฯ
                  เชน ชุดดินวังน้ำเขียว (WK) ชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) ชุดดินภูพาน (Pu) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินปกธงชัย
                  (Ptc) ชุดดินโชคชัย (Ci) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) และชุดดินอุบล (Ub) เปนตน (รายละเอียดดังรูปที่ 3-29)
                               อยางไรก็ตามพบวา ทุเรียนในพื้นที่ตามประกาศฯ ปลูกอยูบนชุดดินโชคชัย (Ci) มาก

                  ที่สุด มีเนื้อที่ 6,039 ไร หรือรอยละ 54.37 ของพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                  รองลงมาคือ ชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) มีเนื้อที่ 3,626 ไร (รอยละ 32.64) ชุดดินภูพาน (Pu) มีเนื้อที่ 637 ไร
                  (รอยละ 5.73) ชุดดินปกธงชัย (Ptc) มีเนื้อที่ 444 ไร (รอยละ 4.00) และชุดดินอื่นๆ เนื้อที่ 362 ไร
                  (รอยละ 3.26)

                               ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินโชคชัย (Ci) ที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินเหนียวลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร คอนขางรวนซุย จึงทำใหดินมี
                  การระบายน้ำดี ดินบนเปนดินเหนียวปนทรายแปง หรือดินเหนียวสีน้ำตาลปนแดงเขม และดินลางเปน

                  ดินเหนียวสีแดง มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางสูง (รอยละ 2.01) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางต่ำ (9.60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (56.64
                  มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ในดินชั้นลางของชุดดินโชคชัยพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวล
                  พอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร พื้นที่เพาะปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน

                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) ที่ปลูกทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษนั้นมี
                  ลักษณะเปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนกรวด ลูกรัง ถึงดินรวนเหนียวปนกรวด พบปริมาณกอนกรวด
                  เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ รอยละ 15-35 และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนกรวด ลูกรัง

                  ถึงดินเหนียวปนกรวด พบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ มากกวารอยละ 35





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84