Page 78 - Plan GI
P. 78

3-30






                             6) วิถีตลาดขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย

                                เกษตรกรผูปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟของจังหวัดบุรีรัมย ผลผลิตสวนใหญรอยละ
                  53.00 จะถูกจำหนายเปนเมล็ดพันธุ รอยละ 25.00 เก็บไวบริโภคภายในครัวเรือน รอยละ 16.20
                  จำหนายเปนขาวเปลือก รอยละ 5.00 เก็บไวทำพันธุ สวนที่เหลือรอยละ 0.80 เขาโรงสีชุมชนเพื่อสีเปน

                  ขาวสารจำหนาย (รูปที่ 3-26)


                                                         เกษตรกร
                                                          100%




                         บริโภค         จำหนายขาวเปลือก            เก็บไวทำพันธุ    ขายเมล็ดพันธุ
                         25.00%             16.20%                      5.00%             53.00%


                                                         โรงสีชุมชน
                                                          0.80%



                                                       จำหนายขาวสาร


                  รูปที่ 3-26 วิถีการตลาดขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย

                  3.2   การวิเคราะหและจัดทำหนวยที่ดิน

                        3.2.1    ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ
                               จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ทุเรียน) (กองนโยบาย
                  และแผนการใชที่ดิน, 2562-2654) ขอมูลพื้นที่ทุเรียนที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                  (กรมสงเสริมการเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน
                  (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564)
                  ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น
                  143 หนวยที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 1) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 49 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 354,093 ไร
                  คิดเปนรอยละ 22.53 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก
                  หนวยที่ดินลุมทั่วไป หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) และหนวยที่ดิน
                  ที่มีการยกรองและอยูในเขตชลประทาน (IM2) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 91 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 967,409 ไร

                  คิดเปนรอยละ 61.55 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก
                  หนวยที่ดินดอนทั่วไป หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยที่ดิน
                  ที่มีคันนาและอยูในเขตชลประทาน (IM3) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุม 1 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 8,719 ไร

                  คิดเปนรอยละ 0.56 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ตามประกาศฯ และ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83