Page 85 - Plan GI
P. 85

3-37






                  ในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ เนื้อที่ 445 ไร หรือรอยละ 2.06 ของพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมด

                  ในพื้นที่ตามประกาศฯ
                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตกระเทียมศรีสะเกษตามประกาศฯ เชน
                  ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินโนนแดง (Ndg) ดินพระทองคำ (Ptk) ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินคง (Kng)

                  ชุดดินพล (Pho) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) ชุดดินชำนิ (Cni) และชุดดินธวัชบุรี (Th) เปนตน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-32)
                               อยางไรก็ตามพบวา กระเทียมในพื้นที่ตามประกาศฯ ปลูกอยูบนชุดดินพระทองคำ
                  (Ptk) มากที่สุด มีเนื้อที่ 10,578 ไร หรือรอยละ 49.04 ของพื้นที่เพาะปลูกกระเทียมทั้งหมดในพื้นที่

                  ตามประกาศฯ รองลงมาคือ ชุดดินโนนแดง (Ndg) มีเนื้อที่ 5,678 ไร (รอยละ 26.33) ชุดดินรอยเอ็ด
                  (Re) มีเนื้อที่ 1,947 ไร (รอยละ 9.03) ชุดดินคง (Kng) มีเนื้อที่ 1,651 ไร (รอยละ 7.65) ชุดดินชุมพลบุรี
                  (Chp) มีเนื้อที่ 1,123 ไร (รอยละ 5.21) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) มีเนื้อที่ 291 ไร (รอยละ 1.35)
                  และชุดดินอื่นๆ เนื้อที่ 301 ไร (รอยละ 1.39)

                               ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินพระทองคำ (Ptk) ที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษนั้นมี
                  ลักษณะเปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินทรายปนดินรวน
                  สีน้ำตาลเขมหรือน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนปนทรายสีน้ำตาลหรือน้ำตาลออน พบจุดประสีน้ำตาล
                  แกหรือเหลืองปนแดงในชวงความลึก 75-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ

                  (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนสูง (25 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียม
                  ที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ในดินชั้นลางของชุดดินพระทองคำพบปริมาณ
                  กอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร พื้นที่เพาะปลูก
                  หอมแดงศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน

                  และบางพื้นที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน ดินมี
                  การระบายน้ำดีปานกลาง
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินโนนแดง (Ndg) ที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินลึก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย

                  สีเทาหรือเทาปนน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนปนทรายและในชวงตอนลางลึกลงไปดินเปนดินรวนเหนียว
                  ปนทราย สีน้ำตาลปนเทา และในดินลางลึกลงไปเปนสีเทาปนชมพู พบจุดประสีน้ำตาลแกหรือเหลืองปนแดง
                  ภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ในดินชั้นลางของชุดดินโนนแดงพบปริมาณกอนกรวด

                  เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดี
                  มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ
                  (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)
                  พื้นที่เพาะปลูกกระเทียมศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย ที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน และมีการจัดการโดยการพูนโคนเพื่อปลูกกระเทียม

                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินรอยเอ็ด (Re) ที่ปลูกกระเทียมศรีสะเกษนั้นมีลักษณะเปน
                  ดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ำตาลปนเทา
                  หรือสีน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนทราย สีเทาปนน้ำตาลออนหรือ

                  เทาปนชมพู พบจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือสีน้ำตาลปนแดงตลอด ในดินชั้นลางของชุดดินรอยเอ็ด





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90