Page 90 - Plan GI
P. 90

3-42






                        3.2.3   หอมแดงศรีสะเกษ

                               จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดศรีสะเกษ (กองนโยบายและ
                  แผนการใชที่ดิน, 2562) ขอมูลพื้นที่หอมแดงที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) (กรมสงเสริม

                  การเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis)
                  ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลขอบเขต
                  การปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)
                  ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 98 หนวยที่ดิน

                  (ตารางภาคผนวกที่ 2) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 51 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 1,068,645 ไร คิดเปนรอยละ
                  59.70 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป
                  หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) และหนวยที่ดินที่มีการพูนโคน
                  และอยูในเขตชลประทาน (IM4) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 37 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 439,003 ไร คิดเปนรอยละ

                  24.53 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนทั่วไป
                  หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยที่ดินที่มีคันนาและอยูใน
                  เขตชลประทาน (IM3) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/ดินลุม 10 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 96,877 ไร คิดเปนรอยละ
                  5.41 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่

                  185,563 ไร คิดเปนรอยละ 10.36 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ ไดแก
                  พื้นที่น้ำ และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (รายละเอียดดังรูปที่ 3-33)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-31) โดยในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ พบวา

                  กลุมดินรวนหยาบมีเนื้อที่ 836,467 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปนรอยละ
                  46.73 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 351,324 ไร (รอยละ 19.63)
                  กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 90,429 ไร (รอยละ 5.05) กลุมดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 90,423 ไร (รอยละ 5.05)
                  และกลุมดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด-กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 74,158 (รอยละ 4.14) เปนตน

                               อยางไรก็ตามพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงทั้งหมดมีเนื้อที่ 3,268 ไร หรือรอยละ 0.18
                  ของพื้นที่ตามประกาศ พบวา มีพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงในกลุมดินรวนหยาบมากที่สุด มีเนื้อที่ 2,959 ไร
                  หรือรอยละ 90.54 ของพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวน

                  ละเอียด มีเนื้อที่ 262 ไร หรือรอยละ 8.02 ของพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                  และพบหอมแดงที่เพาะปลูกในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ เนื้อที่ 47 ไร หรือรอยละ 1.44 ของพื้นที่
                  เพาะปลูกหอมแดงทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ
                  เชน ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินโนนแดง (Ndg) ดินพระทองคำ (Ptk) ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินคง

                  (Kng) ชุดดินพล (Pho) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) ชุดดินชำนิ (Cni) และชุดดินธวัชบุรี (Th) เปนตน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-35)
                               อยางไรก็ตามพบวา หอมแดงในพื้นที่ตามประกาศฯ ปลูกอยูบนชุดดินพระทองคำ

                  (Ptk) มากที่สุด มีเนื้อที่ 2,567 ไร หรือรอยละ 78.55 ของพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงทั้งหมดในพื้นที่





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95