Page 91 - Plan GI
P. 91

3-43






                  ตามประกาศฯ รองลงมาคือ ชุดดินรอยเอ็ด (Re) มีเนื้อที่ 333 ไร (รอยละ 10.19) ชุดดินโนนแดง (Ndg)

                  มีเนื้อที่ 227 ไร (รอยละ 6.95) ชุดดินคง (Kng) มีเนื้อที่ 93 ไร (รอยละ 2.85) และชุดดินอื่นๆ เนื้อที่ 48 ไร
                  (รอยละ 1.46)
                               ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินพระทองคำ (Ptk) ที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ

                  เปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนสีน้ำตาลเขม
                  หรือน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนปนทรายสีน้ำตาลหรือน้ำตาลออน พบจุดประสีน้ำตาลแกหรือเหลือง
                  ปนแดงในชวงความลึก 75-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50)
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนสูง (25 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน

                  คอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ในดินชั้นลางของชุดดินพระทองคำพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน
                  ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร พื้นที่เพาะปลูกหอมแดงศรีสะเกษมีสภาพ
                  พื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน และบางพื้นที่มีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน ดินมีการระบายน้ำดีปานกลาง

                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินรอยเอ็ด (Re) ที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษนั้นมีลักษณะเปน
                  ดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ำตาลปนเทา
                  หรือสีน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนทราย สีเทาปนน้ำตาลออนหรือ
                  เทาปนชมพู พบจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือสีน้ำตาลปนแดงตลอด ในดินชั้นลางของชุดดินรอยเอ็ด

                  พบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร ดินมี
                  การระบายน้ำดีปานกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ำ (รอยละ 0.46) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางสูง (12.72 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนปานกลาง (62.40
                  มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกหอมแดงศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบอยูในเขต

                  และนอกเขตชลประทาน และมีการจัดการโดยการพูนโคนเพื่อปลูกหอมแดง
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินโนนแดง (Ndg) ที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินลึก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย
                  สีเทาหรือเทาปนน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนปนทรายและในชวงตอนลางลึกลงไปดินเปนดินรวน

                  เหนียวปนทราย สีน้ำตาลปนเทา และในดินลางลึกลงไปเปนสีเทาปนชมพู พบจุดประสีน้ำตาลแกหรือ
                  เหลืองปนแดง ภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ในดินชั้นลางของชุดดินโนนแดงพบปริมาณ
                  กอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร ดินมีการระบายน้ำดี

                  ปานกลางถึงดี มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอ
                  กิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกหอมแดงศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ที่อยูในเขตและนอกเขตชลประทาน และมีการจัดการโดยการพูนโคนเพื่อ
                  ปลูกหอมแดง

                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ที่ปลูกหอมแดงศรีสะเกษนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร เนื้อดินเปนพวกดินรวนถึงดินทรายปน
                  ดินรวน แลวแตตะกอนที่น้ำพัดพามาทับถมในแตละป โดยในแตละชั้นของเนื้อดินมีสีที่แตกตางกัน

                  อยางเห็นไดชัดเจน เปนสีน้ำตาล น้ำตาลเขมหรือน้ำตาลซีด พบจุดประสีน้ำตาลแก ในดินชั้นลางของ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96