Page 96 - Plan GI
P. 96

3-48






                        3.2.4   สับปะรดทาอุเทน

                               จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
                  (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2562-2564) ขอมูลพื้นที่สับปะรดที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  (GI) (กรมสงเสริมการเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน
                  (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564)
                  ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 73 หนวยที่ดิน

                  (ตารางภาคผนวกที่ 3) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 24 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 121,715 ไร คิดเปนรอยละ
                  17.18 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป
                  หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) และหนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน
                  48 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 506,496 ไร คิดเปนรอยละ 71.49 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรด

                  ทาอุเทนตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนทั่วไป หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I)
                  หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยที่ดินที่มีคันนาและอยูในเขตชลประทาน (IM3) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน/
                  ดินลุม 1 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 1,497 ไร คิดเปนรอยละ 0.21 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิต
                  สับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 78,782 ไร คิดเปนรอยละ 11.12

                  ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่น้ำ และพื้นที่ชุมชนและ
                  สิ่งปลูกสราง (รายละเอียดดังรูปที่ 3-36)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-37) ในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ พบวา

                  กลุมดินตื้นมีเนื้อที่ 312,051 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปนรอยละ
                  44.04 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 92,902 ไร (รอยละ 13.11)
                  กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 79,454 ไร (รอยละ 11.22) และกลุมดินตื้น-ดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่
                  42,530 ไร (รอยละ 6.00) เปนตน

                               อยางไรก็ตามพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดมีเนื้อที่ 5,642 ไร หรือรอยละ 0.78 ของพื้นที่
                  ตามประกาศฯ พบวา มีพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดในกลุมดินตื้นมากที่สุด มีเนื้อที่ 3,078 ไร หรือรอยละ
                  55.13 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนละเอียด

                  มีเนื้อที่ 1,628 ไร หรือรอยละ 29.49 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                  กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 809 ไร หรือรอยละ 14.10 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่
                  ตามประกาศฯ และพบสับปะรดที่เพาะปลูกในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ เนื้อที่ 127 ไร หรือรอยละ
                  1.28 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ

                  เชน ชุดดินปลาปาก (Ppk) ชุดดินโพนพิสัย (Pp) ชุดดินคง (Kng) ชุดดินพระทองคำ (Ptk) ชุดดินธาตุพนม
                  (Tp) ชุดดินสีทน (St) ชุดดินนครพนม (Nn) และชุดดินชำนิ (Cni) เปนตน (รายละเอียดดังรูปที่ 3-38)
                               อยางไรก็ตามพบวา สับปะรดในพื้นที่ตามประกาศฯ ปลูกอยูบนชุดดินโพนพิสัย (Pp)

                  มากที่สุด มีเนื้อที่ 2,091 ไร หรือรอยละ 37.07 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101