Page 97 - Plan GI
P. 97

3-49






                  รองลงมาคือ ชุดดินคง (Kng) มีเนื้อที่ 1,339 ไร (รอยละ 23.74) ชุดดินปลาปาก (Ppk) มีเนื้อที่ 936 ไร

                  (รอยละ 16.59) ชุดดินพระทองคำ (Ptk) มีเนื้อที่ 379 ไร (รอยละ 6.72) ชุดดินหวยแถลง (Ht) มีเนื้อที่
                  318 ไร (รอยละ 5.64) ชุดดินโคราช (Kt) มีเนื้อที่ 288 ไร (รอยละ 5.10) และชุดดินอื่นๆ เนื้อที่ 290 ไร
                  (รอยละ 5.14)

                               ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินโพนพิสัย (Pp) ที่ปลูกสับปะรดทาอุเทนนั้นมีลักษณะ
                  เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง โดยมีความลึกของดิน 0-50 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน
                  สีน้ำตาลปนเทาเขม และดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทราย ถัดไปเปนดินรวนเหนียวปนทราย
                  ปนกรวด หรือดินเหนียวปนกรวดมาก มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลแก ดินลางถัดไปเปนดินรวนเหนียวปนกรวดมาก

                  ถัดไปจะเปนชั้นดินเหนียวตลอด มีสีเทาปนน้ำตาลออนหรือสีเทาออน มีจุดประสีแดงของศิลาแลงออน
                  (Plinthite) และน้ำตาลแกหรือน้ำตาลปนเหลือง มีปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง (รอยละ 1.58) ปริมาณ
                  ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนต่ำ (1.97 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนสูง
                  (95.20 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ในดินชั้นลางของชุดดินโพนพิสัยพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง

                  หรือสารมวลพอกตางๆ มากกวารอยละ 35 อยางไรก็ตามพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือ
                  สารมวลพอกตางๆ ในดินชั้นบน นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร พื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทาอุเทน
                  มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยและลูกคลื่นลอนลาดที่อยูนอกเขตชลประทาน ดินมี
                  การระบายน้ำดีปานกลาง

                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินคง (Kng) ที่ปลูกสับปะรดทาอุเทนนั้นมีลักษณะเปนดินลึก
                  โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย
                  สีน้ำตาลเขม หรือสีน้ำตาล และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนเหนียว สีน้ำตาลหรือ
                  น้ำตาลปนเหลือง อาจพบสีเทาปนน้ำตาล เทาหรือเทาปนชมพูในดินลางลึกลงไป พบจุดประสีน้ำตาลแก

                  หรือสีเหลืองปนแดง ภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน อาจพบกอนเหล็กสะสมในดินลาง ในดิน
                  ชั้นบนและชั้นลางของชุดดินคงพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวา
                  รอยละ 5 โดยปริมาตร ดินมีการระบายน้ำดีปานกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50)
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปน

                  ประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทาอุเทนมีสภาพพื้นที่เปน
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูนอกเขตชลประทาน
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินปลาปาก (Ppk) ที่ปลูกสับปะรดทาอุเทนนั้นมีลักษณะ

                  เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง โดยมีความลึกของดิน 0-50 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวน
                  เหนียวปนกรวดลูกรังเล็กนอย สีน้ำตาลปนเทาเขม และมีจุดประสีเทา และดินลางเปนดินรวนเหนียวถึง
                  ดินเหนียวปนกรวดลูกรังและลูกรังมีปริมาณเพิ่มขึ้นตามความลึก มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลแก สวนในดินลาง
                  ชวงความลึกถัดลงไปเปนดินเหนียวปนลูกรังมาก และถัดไปจะเปนชั้นดินเหนียวสีเทาปนน้ำตาลออนหรือ
                  เทาออน มีจุดประสีแดง น้ำตาลแกหรือน้ำตาลปนเหลืองตลอดชั้นดิน พบศิลาแลงออนปริมาณรอยละ 2-50

                  โดยปริมาตร มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางสูง (รอยละ 3.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  คอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางสูง (90 มิลลิกรัม
                  ตอกิโลกรัม) ในดินชั้นบนของชุดดินปลาปากพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ

                  รอยละ 15-35 โดยปริมาตร และในดินชั้นลางของชุดดินปลาปากพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102