Page 98 - Plan GI
P. 98

3-50






                  หรือสารมวลพอกตางๆ มากกวารอยละ 35 พื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทาอุเทนมีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น

                  ลอนลาดเล็กนอยและลูกคลื่นลอนลาดที่อยูนอกเขตชลประทาน ดินมีการระบายน้ำดี
                               จากลักษณะและสมบัติของชุดดินที่พบมากในพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดและอยูใน
                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตสับปะรดทาอุเทนตามประกาศฯ นั้น พบวา ดินสวนใหญมีลักษณะเปนดินตื้นและ

                  ดินลึก โดยพบดินตื้น (ความลึกของดิน 0-50 เซนติเมตร) คิดเปนรอยละ 54.80 ของพื้นที่เพาะปลูก
                  สับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ และปลูกอยูบนดินที่มีความลึก มากกวา 150 เซนติเมตร คิดเปน
                  รอยละ 45.20 ของพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ ในดินบนของชุดดินสวนใหญ
                  ที่พบนั้นมีปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร

                  ยกเวนในชุดดินปลาปาก (Ppk) พบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ รอยละ
                  15-35 โดยปริมาตรในดินชั้นบน พื้นที่ปลูกสับปะรดพบในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
                  หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด ที่อยูนอกเขตชลประทาน ดินมีการระบาย
                  น้ำดีปานกลางถึงดี และมีการพูนโคนเพื่อปลูกสับปะรดในดินลุม ไดแก ชุดดินชำนิ (Cni) ชุดดินโนนแดง

                  (Ndg) ชุดดินนครพนม (Nn) ชุดดินหนองญาติ (Noy) ชุดดินเพ็ญ (Pn) ชุดดินสีทน (St) และชุดดินทาอุเทน
                  (Tu) สวนในดินดอน ไดแก ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินหวยแถลง (Ht) ชุดดินคง (Kng) ชุดดินโคราช
                  (Kt) ชุดดินปลาปาก (Ppk) ชุดดินโพนพิสัย (Pp) ชุดดินพระทองคำ (Ptk) และชุดดินธาตุพนม (Tp)





















































                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103