Page 102 - Plan GI
P. 102

3-54





                        3.2.5  ลิ้นจี่นครพนม

                             จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ลิ้นจี่) (กองนโยบาย
                  และแผนการใชที่ดิน, 2562-2564) ขอมูลพื้นที่ลิ้นจี่ที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                  (กรมสงเสริมการเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน
                  (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564)
                  ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น

                  22 หนวยที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 4) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 7 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 6,311 ไร
                  คิดเปนรอยละ 18.84 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตลิ้นจี่นครพนมตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุม
                  ทั่วไป และหนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 14 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 21,165 ไร
                  คิดเปนรอยละ 63.20 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตลิ้นจี่นครพนมตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดิน

                  ดอนทั่วไป และหนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 6,014 ไร คิดเปนรอยละ 17.96
                  ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตลิ้นจี่นครพนมตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่น้ำ และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-39)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน

                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-40) โดยในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตลิ้นจี่นครพนมตามประกาศฯ พบวา
                  กลุมดินรวนละเอียดมีเนื้อที่ 10,479 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปน
                  รอยละ 31.29 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 5,471 ไร (รอยละ 16.34)
                  กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 4,940 ไร (รอยละ 14.74) กลุมดินทราย มีเนื้อที่ 3,432 ไร (รอยละ 10.25)

                  กลุมดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 2,233 ไร (รอยละ 6.67) และกลุมดินประเภทอื่นๆ มีเนื้อที่ 921 ไร
                  (รอยละ 2.75)
                               อยางไรก็ตามพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดมีเนื้อที่ 361 ไร หรือรอยละ 1.07 ของพื้นที่
                  ตามประกาศ พบวา มีพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ในกลุมดินริมแมน้ำตะกอนน้ำพารูปพัดมากที่สุด มีเนื้อที่ 156 ไร

                  หรือรอยละ 42.99 ของพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินรวนหยาบ
                  มีเนื้อที่ 140 ไร หรือรอยละ 39.25 ของพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินเหนียว
                  มีเนื้อที่ 32 ไร หรือรอยละ 8.41 ของพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินลึกปานกลาง

                  มีเนื้อที่ 20 ไร หรือรอยละ 5.61 ของพื้นที่เพาะปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ และพบลิ้นจี่
                  ที่ปลูกในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ เนื้อที่ 13 ไร หรือรอยละ 3.74 ของพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่
                  ตามประกาศฯ
                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตลิ้นจี่นครพนมตามประกาศฯ ไดแก
                  ชุดดินโคราช (Kt) ชุดดินน้ำพอง (Ng) ชุดดินนครพนม (Nn) ชุดดินธาตุพนม (Tp) ชุดดิน โนนแดง (Ndg)

                  ชุดดินพระทองคำ (Ptk) ชุดดินพล (Pho) ชุดดินสีทน (St) ชุดดินคง (Kng) ชุดดินเรณู (Rn) ชุดดินโพนพิสัย
                  (Pp) และชุดดินทาอุเทน (Tu) (รายละเอียดดังรูปที่ 3-41)
                               อยางไรก็ตามพบวา ลิ้นจี่ในพื้นที่ตามประกาศฯ ปลูกอยูบนชุดดินธาตุพนม (Tp)

                  มากที่สุด มีเนื้อที่ 188 ไร หรือรอยละ 52.08 ของพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมา





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107