Page 107 - Plan GI
P. 107

3-59






                        3.2.6  ขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย

                             จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000
                  (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (ขาว) (กองนโยบาย
                  และแผนการใชที่ดิน, 2562-2564) ขอมูลพื้นที่นาขาวที่ขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI)

                  (กรมสงเสริมการเกษตร, 2564) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน
                  (Lab analysis) ของชุดดินในประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2564)
                  ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 228

                  หนวยที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 5) แบงเปน หนวยที่ดินในพื้นที่ลุม 37 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 334,879 ไร
                  คิดเปนรอยละ 36.77 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยตามประกาศฯ
                  ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป และหนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I) หนวยที่ดินในพื้นที่ดอน 188
                  หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 436,473 ไร คิดเปนรอยละ 47.92 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิ

                  ดินภูเขาไฟบุรีรัมยตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินดอนทั่วไป หนวยที่ดินดอนที่อยูในเขตชลประทาน (I)
                  หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) และหนวยที่ดินที่มีคันนาและอยูในเขตชลประทาน (IM3) และหนวยเบ็ดเตล็ด
                  มีเนื้อที่ 139,468 ไร คิดเปนรอยละ 15.31 ของพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟ
                  บุรีรัมยตามประกาศฯ ไดแก พื้นที่น้ำ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่ลาดชันเชิงซอน และพื้นที่ผาชัน

                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-42)
                               ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
                  (รายละเอียดดังรูปที่ 3-43) โดยในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยตามประกาศฯ
                  พบวา กลุมดินรวนหยาบมีเนื้อที่ 214,106 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ดังกลาว โดยคิดเปน

                  รอยละ 23.51 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 156,767 ไร (รอยละ 17.22)
                  กลุมดินทรายแปง มีเนื้อที่ 128,429 ไร (รอยละ 14.10) และกลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 108,809 ไร (รอยละ 11.94)
                  เปนตน
                               อยางไรก็ตามพื้นที่นาขาวทั้งหมดมีเนื้อที่ 503,832 ไร หรือรอยละ 55.32 ของพื้นที่

                  ตามประกาศฯ พบวา มีพื้นที่นาขาวในกลุมดินเหนียวมากที่สุด มีเนื้อที่ 129,671 ไร หรือรอยละ 25.74
                  ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินทรายแปง 121,316 ไร หรือรอยละ
                  24.08 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินรวนหยาบ มีเนื้อที่ 90,130 ไร หรือรอยละ

                  17.90 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินรวนละเอียด มีเนื้อที่ 68,691 ไร หรือรอยละ
                  13.63 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 42,024 ไร หรือรอยละ 8.33
                  ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ กลุมดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 37,807 ไร หรือรอยละ
                  7.50 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ และพบพื้นที่นาขาวในพื้นที่กลุมดินประเภทอื่นๆ
                  เนื้อที่ 14,193 ไร หรือรอยละ 2.82 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ

                               ชุดดินที่พบมากที่สุดในพื้นที่ขอบเขตพื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  ตามประกาศฯ เชน ชุดดินปกธงชัย (Ptc) ชุดดินชำนิ (Cni) ชุดดินบุรีรัมย (Br) ชุดดินสบปราบ (So)
                  ชุดดินเขมราฐ (Kmr) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินภูพาน (Pu) ชุดดินศีขรภูมิ (Sik) ชุดดินคง (Kng)

                  ชุดดินสุรินทร (Su) และชุดดินวัฒนา (Wa) เปนตน (รายละเอียดดังรูปที่ 3-44)





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112