Page 109 - Plan GI
P. 109

3-61






                  สีน้ำตาลออน และเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทาปนชมพูหรือสีเทาในดินลางลึกลงไป

                  ชวงเปลี่ยนระหวางดินรวนเหนียวปนทรายเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปงจะเปลี่ยนโดยทันที
                  ภายในความลึก 100 เซนติเมตร จากผิวดิน มักพบจุดประสีแดงและศิลาแลงออนหรือชั้นลูกรังบางๆ
                  ภายใน 150 เซนติเมตร จากผิวดิน และจะพบชั้นหินผุและหินพื้น (weathering siltstone และ

                  siltstone) ที่ระหวางความลึก 100-150 เซนติเมตร ดินมีการระบายน้ำคอนขางเลว มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุต่ำ (รอยละ 0.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนต่ำ (2.99 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)
                  ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนต่ำ (22.08 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดิน
                  ภูเขาไฟบุรีรัมยมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูใน

                  เขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน และมีการทำคันนาเพื่อปลูกขาว ดินจึงมีการระบายน้ำคอนขางเลว
                               จากลักษณะและสมบัติของชุดดินที่พบมากในพื้นที่ที่มีการทำนาและอยูในขอบเขต
                  พื้นที่การผลิตขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยตามประกาศฯ นั้น พบวา ดินสวนใหญมีลักษณะเปนดินลึก
                  โดยมีความลึกมากกวา 150 เซนติเมตร ในดินบนของชุดดินสวนใหญที่พบนั้นมีปริมาณกอนกรวด เศษหิน

                  ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร ยกเวนในชุดดินบางชุดดินที่พบปริมาณ
                  กอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ รอยละ 15-35 โดยปริมาตร ไดแก ชุดดินสบปราบ
                  (So) ชุดดินสุรินทร (Su) และชุดดินศรีสะเกษ (Ssk) พื้นที่นาขาวสวนใหญพบในสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  คอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน

                  ดินมีการระบายน้ำเลวถึงดีปานกลาง และมีการทำคันนาเพื่อปลูกขาวในดินดอน เชน ชุดดินปกธงชัย
                  (Ptc) ชุดดินเขมราฐ (Kmr) ชุดดินโชคชัย (Ci) ชุดดินจอมพระ (Cpr) ชุดดินหวยแถลง (Ht) ชุดดินครบุรี
                  (Kbr) ชุดดินคง (Kng) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินสบปราบ (So) และ
                  ชุดดินสุรินทร (Su) เปนตน สวนในดินลุม เชน ชุดดินชำนิ (Cni) ชุดดินบุรีรัมย (Br) ชุดดินละหานทราย

                  (Lah) ชุดดินศีขรภูมิ (Sik) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินหนองกุง (Nkg) ชุดดินวัฒนา (Wa) และชุดดินธวัชบุรี
                  (Th) เปนตน





































                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114