Page 108 - Plan GI
P. 108

3-60






                               อยางไรก็ตามพบวา พื้นที่นาขาวในพื้นที่ตามประกาศฯ อยูในชุดดินชำนิ (Cni)

                  มากที่สุด มีเนื้อที่ 96,842 ไร หรือรอยละ 19.22 ของพื้นที่นาขาวทั้งหมดในพื้นที่ตามประกาศฯ
                  รองลงมาคือ ชุดดินบุรีรัมย (Br) มีเนื้อที่ 75,949 ไร (รอยละ 15.07) ชุดดินปกธงชัย (Ptc) มีเนื้อที่
                  61,256 ไร (รอยละ 12.16) ชุดดินเขมราฐ (Kmr) มีเนื้อที่ 49,395 ไร (รอยละ 9.80) ชุดดินรอยเอ็ด (Re)

                  มีเนื้อที่ 33,018 ไร (รอยละ 6.55) ชุดดินสบปราบ (So) มีเนื้อที่ 30,163 ไร (รอยละ 5.99) ชุดดินศีขรภูมิ
                  (Sik) มีเนื้อที่ 30,044 ไร (รอยละ 5.96) ชุดดินคง (Kng) มีเนื้อที่ 27,192 ไร (รอยละ 5.40) ชุดดินวัฒนา
                  (Wa) มีเนื้อที่ 20,637 ไร (รอยละ 4.10) ชุดดินธวัชบุรี (Th) มีเนื้อที่ 19,663 ไร (รอยละ 3.90) ชุดดิน
                  ละหานทราย (Lah) มีเนื้อที่ 16,096 ไร (รอยละ 3.20) และชุดดินอื่นๆ เนื้อที่ 43,577 ไร (รอยละ 8.65)

                               ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินชำนิ (Cni) ที่ปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยนั้น
                  มีลักษณะเปนเปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว
                  หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปงสีน้ำตาลปนเทาถึงสีน้ำตาลปนเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ำตาลแกหรือ
                  สีแดงปนเหลือง มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางสูง (รอยละ 3.50) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน

                  คอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (60 มิลลิกรัม
                  ตอกิโลกรัม) ในดินชั้นลางของชุดดินชำนิเปนดินเหนียว สีเทาออน มีจุดประ สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง
                  และมีศิลาแลงออนสีแดงอยูรอยละ 5-50 โดยปริมาตร พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบที่อยูในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน ดินมี

                  การระบายน้ำดีปานกลางถึงคอนขางเลว
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินบุรีรัมย (Br) ที่ปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยนั้น
                  มีลักษณะเปนดินลึก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอด สีดินเปน
                  สีเทาเขมหรือสีน้ำตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ำตาลปนแดงเขม ในฤดูแลงจะมีรอยแตกระแหงกวางและลึก

                  มีรอยไถลในหนาตัดดิน ดินมีการระบายน้ำเลว มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.48) ปริมาณ
                  ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนปานกลาง (16.95 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
                  คอนขางสูง (81.28 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยมีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตชลประทานและนอกเขต

                  ชลประทาน
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินปกธงชัย (Ptc) ที่ปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  นั้นมีลักษณะเปนดินลึกมาก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินรวนปนทราย

                  หรือดินรวน สีน้ำตาลเขมหรือสีน้ำตาลปนแดงเขม และดินลางเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียว
                  ปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง มีปริมาณอินทรียวัตถุคอนขางต่ำ (รอยละ 1.50) ปริมาณฟอสฟอรัส
                  ที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ (10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ
                  (60 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึง
                  คอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน

                  และมีการทำคันนาเพื่อปลูกขาว ดินจึงมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงดีปานกลาง
                               ลักษณะและสมบัติของชุดดินเขมราฐ (Kmr) ที่ปลูกขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยนั้น
                  มีลักษณะเปนดินลึก โดยมีความลึกของดิน มากกวา 150 เซนติเมตร ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือ

                  ดินรวนปนทราย สีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลเขม และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือ





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113