Page 92 - Plan GI
P. 92

3-44






                  ชุดดินชุมพลบุรีพบปริมาณกอนกรวด เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร

                  ดินมีการระบายน้ำดีปานกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง (รอยละ 1.77) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
                  ประโยชนคอนขางต่ำ (6.92 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนคอนขางต่ำ
                  (39.16 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) พื้นที่เพาะปลูกหอมแดงศรีสะเกษมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ

                  หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยที่อยูนอกเขตชลประทาน
                               จากลักษณะและสมบัติของชุดดินที่พบมากในพื้นที่เพาะปลูกหอมแดงและอยูใน
                  ขอบเขตพื้นที่การผลิตหอมแดงศรีสะเกษตามประกาศฯ นั้น พบวา ดินสวนใหญมีลักษณะเปนดินลึก
                  โดยมีความลึกของดินมากกวา 150 เซนติเมตร ในดินชั้นลางของชุดดินที่พบในพื้นที่นั้นมีปริมาณกอนกรวด

                  เศษหิน ลูกรัง หรือสารมวลพอกตางๆ นอยกวารอยละ 5 โดยปริมาตร พื้นที่ปลูกหอมแดงพบใน
                  สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ หรือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ที่อยูในและนอกเขต
                  ชลประทาน ดินมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงดี และมีการพูนโคนเพื่อปลูกหอมแดงในดินลุม ไดแก
                  ชุดดินโนนแดง (Ndg) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) และชุดดินหนองบุญนาก (Nbn) สวนในดินดอน ไดแก ชุดดิน

                  ชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินมหาสารคาม (Msk) ชุดดินคง (Kng) ชุดดินพล (Pho) และชุดดินพระทองคำ (Ptk)
























































                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97