Page 137 - Plan GI
P. 137

บทที่ 4


                                                    เขตการใชที่ดิน


                        การจัดทำเขตการใชที่ดินของกระทรวงเกษตรและสหกรณ สามารถนำไปใชเพื่อบูรณาการงาน
                  ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของเพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลได เชน โครงการโซนนิ่งภาคเกษตรของกระทรวง
                  เกษตรและสหกรณ โครงการจัดทำแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Zoning by Agri-Map)
                  เปนยุทธศาสตรหนึ่งที่มุงเนนการพัฒนาการเกษตร ตั้งแตการผลิต การแปรรูป การตลาดแบบครบวงจร

                  การอารักขาพืช และเฝาระวังโรคแมลงศัตรูพืชที่ระบาด นอกจากนี้ยังสามารถนำมาพิจารณาจัดทำ
                  ยุทธศาสตรในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยการนำเทคโนโลยีตาง ๆ มาชวยเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่
                  และยุทธศาสตรการปรับเปลี่ยนการผลิตใหเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ โดยเลือกกิจกรรม

                  การเพาะปลูกที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการบริโภค
                  ภายในประเทศ รวมถึงการสงออกและนำเขากับตลาดตางประเทศอยางเพียงพอ ดังนั้น การจัดทำเขต
                  การใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยที่มุงเนนการพัฒนาการเกษตรทั้งระบบ ควรมี
                  หลักเกณฑและเขตการใชที่ดิน ดังนี้

                  4.1  หลักเกณฑกำหนดเขตการใชที่ดิน

                        กรมพัฒนาที่ดินไดมีการวิเคราะหเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด

                  ประกอบดวย ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ หอมแดงศรีสะเกษ ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ
                  สับปะรดทาอุเทน ลิ้นจี่นครพนม ในพื้นที่จังหวัดนครพนม และขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย ในพื้นที่
                  จังหวัดบุรีรัมย โดยไดพิจารณากำหนดเขตการใชที่ดิน ทั้งในเขตเกษตรกรรมและในเขตพื้นที่ปาไม

                  ตามกฎหมาย แตเนื่องจากปจจุบันสถานการณการเพาะปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ของประเทศไทย
                  มีแนวโนมที่เปลี่ยนไป เนื่องจากปญหาในดานของราคารับซื้อที่ตกต่ำ อีกทั้งปญหาขอจำกัดดานการผลิต
                  ยังมีอยูมาก เนื่องจากพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เปนพืชที่ตองการดูแลรักษาเปนอยางมาก เนื่องจากเปนพืช
                  มูลคาสูง เมื่อเปรียบเทียบกับสินคาเกษตรชนิดเดียวกัน ในขั้นตอนการผลิตตองควบคุมผลผลิตใหได

                  คุณภาพ ปราศจากโรคแมลง และสารเคมี เพื่อใหเปนไปตามขั้นตอนและระเบียบปฏิบัติของสินคาที่มีการขึ้น
                  ทะเบียนสินคา GI นอกจากนี้ ยังมีการแยงพื้นที่ปลูกกับพืชชนิดอื่นในพื้นที่ ประกอบกับราคาของสินคา GI
                  ในปที่ผานมาไมมีความแตกตางจากสินคาทั่วไป เนื่องจากสถานการณของโรคติดเชื้อ COVID-19 ทำใหราคา
                  สินคา GI ต่ำกวาปกอน ๆ สงผลใหพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรบางชนิดลดนอยลง หากรัฐไมให

                  ความสำคัญในการกำหนดยุทธศาสตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร การควบคุมกลไกราคาไมใหราคาผลผลิตตกต่ำ
                  พื้นที่เพาะปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศไทยจะคอย ๆ ถูกปรับเปลี่ยนประเภทการใชที่ดินเปนพืชอื่น
                  ที่ใหผลตอบแทนสูงกวา ดังนั้น เพื่อเปนอนุรักษพันธุพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งเปนพืชที่มีความโดดเดน
                  ที่ปลูกในประเทศไทยเพียงแหงเดียว และเพื่อเปนการคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสมสำหรับพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร พรอมทั้งสงเสริมการปรับปรุงบำรุงดินใหมีสภาพเหมาะสมตอพืชดังกลาวตลอดไป
                  และพัฒนาพืช GI บางชนิดใหกลับมามีความหลากหลายทางชีวภาพเชนเดิม รัฐบาลควรมีนโยบายสนับสนุน
                  ในการพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรทั้งระบบ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตรพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตรใหไดมาตรฐาน เพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภายใต





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142