Page 139 - Plan GI
P. 139

4-3





                           2. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-II)

                             เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูกพืช
                  บงชี้ทางภูมิศาสตร สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร อยูในพื้นที่ตามประกาศ
                  ขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร มีการจัดการพื้นที่โดยการยกรองสำหรับพืชไร ไมยืนตน/ไมผล หรือมีการปนคันนาในดินดอน
                  เพื่อปลูกขาว และแหลงน้ำธรรมชาติสำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร และมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสง
                  ผลผลิตที่เขมแข็ง มีการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรกับกรมสงเสริมการเกษตร

                  มีการขึ้นทะเบียนสินคา GI กับกรมทรัพยสินทางปญญา หรือเปนบริเวณซึ่งดินและที่ดินมีระดับ
                  ความเหมาะสมทางกายภาพของดินเล็กนอย (S3) สำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร สภาพการใชที่ดิน
                  ปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสิน
                  ทางปญญา ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร แตมีการจัดการพื้นที่

                  โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน และแหลงน้ำธรรมชาติ สำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบัน
                  เกษตรกรปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดาน
                  การตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง พื้นที่ปลูกนี้เปนพื้นที่ที่มีขอจำกัดของพื้นที่ปลูกนี้ สามารถ
                  แกไขไดงาย และมีการจัดการดานเครือขายการตลาดเพื่อขนสงผลผลิตสูตลาด

                         3. เขตเหมาะสมมากสำหรับการขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-E1)
                             เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืช GI เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับ
                  ความเหมาะสมทางกายภาพของดินสูง (S1) สำหรับการปลูกพืช GI และมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพ
                  ของดินปานกลาง (S2) สำหรับการปลูกพืช GI แตอยูในพื้นที่ชลประทาน สภาพการใชที่ดินปจจุบันไมได

                  ปลูกพืช GI อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา มีการใชประโยชนเพื่อ
                  กิจกรรมการเกษตรอื่น ๆ ที่ไมตรงตามศักยภาพ เชน เปนพื้นที่ศักยภาพต่ำในการทำนา แตมี
                  ความเหมาะสมสูงตอการปลูกพืช GI ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  มีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำธรรมชาติสำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง เกษตรกร

                  มีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง
                         4.  เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-E2)
                             เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูกพืช

                  GI แตสภาพการใชที่ดินปจจุบันไมไดปลูกพืช GI อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสิน
                  ทางปญญา มีการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมการเกษตรอื่น ๆ ที่ไมตรงตามศักยภาพ เชน เปนพื้นที่
                  ศักยภาพต่ำในการทำนา แตมีความเหมาะสมสูงตอการปลูกพืช GI ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อ
                  ผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำธรรมชาติสำหรับเขตกรรม
                  ในชวงฝนทิ้งชวง เกษตรกรมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและ

                  การขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง
                             ในการพิจารณากำหนดเปาหมายการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของกองนโยบายและ
                  แผนการใชที่ดิน ไดพิจารณาตามแนวทางการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด

                  ประกอบดวย ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ และหอมแดงศรีสะเกษ ในพื้นที่จังหวัด





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144