Page 140 - Plan GI
P. 140

4-4





                  ศรีสะเกษ สับปะรดทาอุเทน และลิ้นจี่นครพนม ในพื้นที่จังหวัดนครพนม และขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟ

                  บุรีรัมย ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย โดยพิจารณาและวิเคราะหขอมูลสถิติผลผลิตรวมของทั้งพื้นที่ภูมิศาสตรนั้น ๆ
                  โดยตั้งเปาหมายใหเพิ่มผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ
                  และการสงออก จะมีการยกระดับผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตอพื้นที่ในพื้นที่เหมาะสมระดับตาง ๆ ดังนั้น

                  ในการกำหนดเขตความเหมาะสมของพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ในครั้งนี้จึงตองรักษาระดับการเพาะปลูกเดิมไว
                  โดยจะตองมีเปาหมายการผลิตและเพิ่มผลผลิตตอไรใหไดตามเปาหมาย หากสามารถทำไดตามเปาหมาย
                  ที่ตั้งไว ในระยะเวลา 2-3 ป ขางหนา ประเทศไทยก็จะไมประสบกับปญหาขาดแคลนผลผลิตพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร และจะไมมีปญหาเรื่องสินคาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรลนตลาด หรือประสบกับราคาผลผลิต

                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตกต่ำ แตทั้งนี้ รัฐตองเขามาใหความชวยเหลือดานการควบคุมกลไกราคาอยางจริงจัง
                  และตองมีมาตรการการชดเชยรายไดใหเกษตรกรในกรณีเกษตรกรมีการใชพื้นที่ที่เหมาะสมสูง
                  ในการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และมีการขึ้นทะเบียนเปนเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  กับกรมสงเสริมการเกษตร สำหรับเปาหมายการผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรจะยึดหลักเกณฑตามประกาศ

                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา และการกำหนดเขตการใชที่ดินจะยึดตามการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  ที่มีการใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน และพื้นที่ที่ยังไมมีการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร แตมีศักยภาพ
                  เหมาะสม และอยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา 6 ชนิด ประกอบดวย
                  ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ กระเทียมศรีสะเกษ และหอมแดงศรีสะเกษ ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ

                  สับปะรดทาอุเทน และลิ้นจี่นครพนม ในพื้นที่จังหวัดนครพนม และขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย
                  ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย
                        สำหรับการกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย จะกำหนด
                  เขตการใชที่ดินสำหรับขาว 2 สายพันธุ ประกอบดวย ขาว กข.15 และ ขาวขาวดอกมะลิ 105 เนื่องจาก

                  สามารถขึ้นทะเบียนพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรขาวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย ไดทั้ง 2 สายพันธุ และมี
                  Crop Requirement ที่แตกตางกันเล็กนอย โดยในการขึ้นทะเบียนของกรมทรัพยสินทางปญญาไดมี
                  การระบุกลุมชุดดินที่มีตนกำเนิด 2 กลุมชุดดิน ซึ่งจากการประเมินชั้นความเหมาะสม พบวา ขาว กข.15
                  เจริญเติบโต และใหผลผลิตที่มีคุณภาพตรงตามที่กรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อปลูกในที่ดอน คือ

                  กลุมชุดดินที่ 28 สวนขาวขาวดอกมะลิ 105 เจริญเติบโต และใหผลผลิตที่มีคุณภาพตรงตามที่
                  กรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อปลูกในที่ลุม คือ กลุมชุดดินที่ 1

                  4.2  เขตการใชที่ดิน

                        จากการใชหลักเกณฑการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรชนิดตาง ๆ สามารถกำหนด

                  เขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยได รายละเอียดดังตารางที่ 4-1 ถึง 4-6 และ
                  ภาพที่ 4-1 ถึง 4-6

















                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145