Page 138 - Plan GI
P. 138

4-2





                  ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางสินคาเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งมีเปาหมายที่จะ

                  พัฒนาการเกษตรทั้งระบบเริ่มตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร เพื่อสราง
                  ความมั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร โดยแนวทางของกรมพัฒนาที่ดิน คือ การสนับสนุนฐานขอมูล
                  ที่เกี่ยวของเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตรการพัฒนาพืช GI โดยการวางแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร

                  ของประเทศไทยเพื่อสงเสริมสนับสนุนการใชที่ดินใหตรงตามศักยภาพ
                         ในการวางแผนการใชที่ดินเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร จะพิจารณาจัดทำ
                  เขตการใชที่ดินในพื้นที่ที่มีการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยอางอิงขอมูลพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  จากกรมสงเสริมการเกษตร (2564) รวมกับการพิจารณาขอมูลสภาพการใชที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                  แลวคัดเลือกเฉพาะพื้นที่การเกษตรในจังหวัดที่มีการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรอยูในปจจุบัน มาวิเคราะห
                  กำหนดเขตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ในระดับที่เหมาะสมมาก
                  ปานกลาง และเล็กนอย โดยมีการนำขอมูลดานกายภาพ มาวิเคราะหรวมกับขอมูลเศรษฐกิจ-สังคม และ
                  ขอมูลนโยบายของประเทศ เพื่อวางแผนกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และวางแผน

                  ขยายพื้นที่ปลูกพืชในพื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมตอการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ตอไป
                         ในการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ในครั้งนี้ มีการพิจารณาจัดทำเขตการใชที่ดิน
                  ตามความเหมาะสมของลักษณะทางกายภาพของดินและที่ดิน รวมกับขอมูลเศรษฐกิจและสังคม ของพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร พรอมทั้งจัดทำเขตเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และเขตเหมาะสมมาก

                  สำหรับขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรไวดวย โดยไดดำเนินการวิเคราะหและประเมินคุณภาพที่ดิน
                  ทั้งระดับความตองการปจจัยสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ดานคุณภาพของดินและสภาพภูมิอากาศ เพื่อจัด
                  ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร รวมทั้งการวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม
                  โดยพื้นที่ทั้งหมดที่นำมาจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร อยูนอกพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย

                         เปาหมายของพื้นที่เพื่อการกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร นำมาพิจารณารวมกับ
                  หลักเกณฑของการแบงเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร  ไดดังนี้
                         1. เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-I)
                            เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร เปนบริเวณซึ่งที่ดิน

                  มีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินสูง (S1) สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา พื้นที่ปลูกอยูใน
                  บริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร  ปจจุบันเกษตรกรมีการใชพื้นที่ดังกลาว
                  เพื่อปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการขึ้นทะเบียน

                  เกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรกับกรมสงเสริมการเกษตร มีการขึ้นทะเบียนสินคา GI กับ
                  กรมทรัพยสินทางปญญา มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง และเปน
                  บริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI

                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  แตมีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน และแหลงน้ำธรรมชาติ สำหรับเขตกรรม
                  ในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และมีการรวมกลุมของเกษตรกร มีการจัดตั้ง

                  องคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143