Page 134 - Plan GI
P. 134

3-86






                  ระดับจังหวัด ภายใตคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณของจังหวัด ที่มีผูวาราชการจังหวัด

                  เปนประธาน เพื่อนำไปปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรมตอไป
                          3.4.3 กฎหมายที่เกี่ยวของในการผลิตสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร
                           มีรายละเอียดของกฎหมายที่เกี่ยวของดังนี้

                             1)  กฎกระทรวงกำหนดรายชื่อประเภทสินคาเฉพาะอยางและกำหนดหลักเกณฑและ
                  วิธีการในการใชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรที่เหมือนหรือพองกัน พ.ศ. 2547
                             2)  กฎกระทรวงกำหนดอัตราคาธรรมเนียมเกี่ยวกับสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2547
                             3)  กฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียน การประกาศ

                  โฆษณา การคัดคานและการโตแยงคำคัดคานการขึ้นทะเบียน การอุทธรณ และการแกไขหรือเพิกถอน
                  ทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2547
                             4)  พระราชบัญญัติคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2546

                           เนื่องจากประเทศไทยมีนโยบายที่จะใหความคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรเพื่อปองกันมิให
                  ประชาชนสับสนหรือหลงผิดในแหลงภูมิศาสตรของสินคา โดยกำหนดใหมีการขอขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้

                  ทางภูมิศาสตรสำหรับสินคาที่มาจากแหลงภูมิศาสตรและหามการใชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรอันจะทำให
                  เกิดความสับสนหรือหลงผิดในแหลงภูมิศาสตรอันแทจริงของสินคาที่ระบุในทะเบียน ในขณะเดียวกัน
                  นโยบายดังกลาวเปนการอนุวัติการตามพันธกรณีที่ประเทศไทยมี ตามการตกลงวาดวยสิทธิในทรัพยสิน
                  ทางปญญาที่เกี่ยวกับการคาในภาคผนวกทายความตกลงมารราเกซจัดตั้งองคการการคาโลกดวย

                  แตกฎหมายไทยยังไมเพียงพอที่จะรองรับนโยบายการใหความคุมครองและรองรับพันธกรณีดังกลาวได
                  จึงตองมีการออกพระราชบัญญัติคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2546 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                  เลม 120 ตอนที่ 108ก มีผลใชบังคับเมื่อพนกำหนด 180 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
                  31 ตุลาคม 2546 เปนตนมา รายละเอียดของพระราชบัญญัติคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2546

                  โดยสรุปไดดังนี้
                           พระราชบัญญัติคุมครองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร พ.ศ. 2546 ไดกำหนดนิยามของ “สิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร” วาหมายความถึง ชื่อ สัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ใชเรียกหรือใชแทนแหลงภูมิศาสตรและ

                  ที่สามารถบงบอกวาสินคาที่เกิดจากแหลงภูมิศาสตรนั้นเปนสินคาที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะ
                  เฉพาะของแหลงภูมิศาสตรดังกลาว ซึ่งจะเห็นไดวาเปนการพิจารณาโดยมุงเนนที่ตัวสินคาเปนสำคัญ
                           สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรที่ขอขึ้นทะเบียนสำหรับสินคาใดตองไมมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง
                  ดังตอไปนี้ คือ
                             1)  เปนชื่อสามัญของสินคาที่จะใชสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนั้น เพราะมีวัตถุประสงคที่จะใหมี

                  ลักษณะเฉพาะที่จะเปนการบงชี้ถึงแหลงของสินคานั้น ๆ หากระบุชื่อสามัญจะทำใหไมมีการบงชี้ถึง
                  แหลงที่มาของสินคานั้น
                             2)  เปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรที่ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

                  หรือนโยบายแหงรัฐเพราะไมตองการสงเสริมใหมีสิ่งบงชี้ดังกลาว
                           กรณีที่เปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรของตางประเทศ พ.ร.บ.นี้ก็ใหความคุมครองเชนกัน แตตองปรากฏ
                  หลักฐานชัดเจนวาเปนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรที่ไดรับความคุมครองตามกฎหมายของประเทศนั้นและ







                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139