Page 132 - Plan GI
P. 132

3-84






                                3.1.2)  พัฒนาและบำรุงรักษาแหลงน้ำเพื่อการเกษตร รวมทั้งจัดระบบการปลูกพืช
                  ใหสอดคลองกับปริมาณน้ำที่หาได โดยใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา

                  แหลงเก็บน้ำ แหลงน้ำในไรนา อางน้ำขนาดเล็ก และขนาดกลางใหกระจายตัวตามศักยภาพของพื้นที่
                  และการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ำเพื่อการเกษตร โดยกรมพัฒนาที่ดินกำลังจะรวมดำเนินการตาม
                  รางแผนงาน/โครงการ ยุทธศาสตรพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรเพื่ออุตสาหกรรม โดยรวมมือกับกรมทรัพยากร
                  น้ำบาดาล เพื่อจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดสรางแหลงน้ำชุมชน แหลงน้ำในไรนา และบอบาดาล
                  เพื่อบรรเทาภัยแลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรที่มีความเหมาะสม
                                3.1.3) สงเสริมใหเกษตรกรมีความรูในการรวบรวม คัดเลือก และปรับปรุง

                  พันธุกรรมพืช
                              3.2)  การสรางและถายทอดความรูทางวิชาการ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรม
                  และภูมิปญญาทองถิ่นดานการเกษตรแบบมีสวนรวม เปนการสนับสนุนการใชประโยชนจากทรัพยากร
                  และการปรับระบบการผลิตใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เปนการเพิ่มมูลคาเพิ่ม
                  ใหสินคาเกษตร โดยมีกิจกรรมตางๆ ไดแก
                                3.2.1) สงเสริมการวิจัย และพัฒนาปจจัยการผลิต
                                3.2.2) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑแปรรูป

                  เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม และความหลากหลายของสินคา
                                3.2.3) พัฒนารูปแบบกระบวนการถายทอดความรู เพื่อปรับระบบการผลิตให
                  เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
                              3.3)  การยกระดับการผลิตสินคาเกษตรใหสอดคลองกับความตองการของตลาด
                              3.4)  การเสริมสรางขีดความสามารถในการผลิตในหวงโซอุตสาหกรรมเกษตร โดยมี
                  รายละเอียดคือ

                                3.4.1) เสริมสรางศักยภาพของการรวมกลุมเกษตรกร
                                3.4.2) สงเสริมใหเกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว และการทำประมง ใหสอดคลองกับ
                  ศักยภาพของพื้นที่และความตองการของตลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิต
                                3.4.3) วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหมในกระบวนการผลิต
                                3.4.4) สนับสนุนการเพิ่มมูลคาเพิ่มสินคาเกษตร
                                3.4.5) บริหารจัดการผลผลิตอยางเปนระบบ ครบวงจร
                                3.4.6) พัฒนากลไกความเสี่ยงที่จะกระทบตอสินคาเกษตร
                              3.5)  การสงเสริมและเรงขยายผลแนวคิดการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

                  พอเพียง โดย
                                3.5.1) สงเสริมใหเกษตรกรมีสวนรวมในการกำหนดนโยบายการเกษตร
                                3.5.2) สงเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ทั้งใน
                  รูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน วนเกษตร เกษตรอินทรีย เกษตรธรรมชาติ และการทำ
                  เกษตรกรรมตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
                                3.5.3) ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม

                  อยางเครงครัด โดยเฉพาะสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
                              3.6)  พัฒนาปจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตรและสนับสนุนเกษตรกร
                  รุนใหม โดย พัฒนาฐานขอมูลดานอุปสงคและอุปทานดานการเกษตร สรางบุคลากรดานการเกษตร





                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137