Page 131 - Plan GI
P. 131

3-83





                  3.4  นโยบายและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร


                        3.4.1 นโยบายและมาตรการของรัฐ
                            1) นโยบายของรัฐบาลที่มอบใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ ในปงบประมาณ
                  2560-2562 เพื่อเปนกรอบการดำเนินงาน ไดแก
                                (1) ดูแลเกษตรกรใหมีรายไดที่เหมาะสมดวยวิธีการตางๆ
                                (2) ปรับโครงสรางการผลิตสินคาเกษตรใหสอดคลองกับความตองการ
                                (3) บริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศใหเปนเอกภาพในทุกมิติ

                                (4) สหกรณของกลุมเกษตรกรที่ผลิตสินคาเกษตรเพิ่มบทบาทในฐานะผูซื้อพืชผล/
                  แปรรูป/สงออกได
                             2) นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในชวงที่ผานมา (กอนป 2562) มีรายละเอียดดังนี้
                              2.1)  เรงรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและพัฒนาระบบโลจิสติกส
                  ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มผลตอบแทนดานการเกษตร โดยสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจสำคัญใหเหมาะสม
                  กับสภาพพื้นที่ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ จัดหาปจจัยการผลิตและโครงสรางพื้นฐานการผลิตที่มี

                  คุณภาพและมีความจำเปน เพื่อสรางความมั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร
                              2.2)  ดูแลเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและการตลาดสินคาเกษตร
                              2.3)  สงเสริมการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตร และมีการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการเกษตร
                  จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ สนับสนุนเงินทุนพัฒนาเครื่องจักรในการแปรรูปขั้นตนของสินคาเกษตร
                              2.4)  สรางความมั่นคงดานอาหาร โดยสงเสริมการทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริ
                  ขยายกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดำริ และสนับสนุนการทำเกษตร
                  อินทรีย เกษตรผสมผสาน สวนเกษตร รวมทั้งสนับสนุนความรวมมือระหวางประเทศดานความมั่นคง

                  ทางดานอาหาร
                              2.5)  เรงรัดการจัดหาแหลงน้ำใหทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพ
                  การใชทรัพยากรน้ำเพื่อการผลิตทางการเกษตร เพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง
                              2.6)  คุมครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ไดมีการพัฒนา
                  โครงสรางพื้นฐานดานชลประทาน เพื่อเปนฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว จัดหาที่ดินทำกิน
                  ใหแกเกษตรกรยากจนในรูปของธนาคารที่ดิน เรงรัดการออกเอกสารสิทธิ์ตางๆ

                            3) นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในอนาคต เพื่อเสริมสรางและพัฒนาขีด
                  ความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการ (รางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                  ฉบับที่ 12)
                              3.1)  การเสริมสรางฐานการผลิตภาคการเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน โดยมี
                  รายละเอียดดังนี้
                                3.1.1) การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยายโอกาสการเขาถึงพื้นที่
                  ทำกินของเกษตรกรใหมากขึ้น โดยมีการรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับเกษตรกรรมไวเปนฐานการผลิตที่มั่นคง
                  เชน การสนับสนุน “สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร” หรือ “Geographical Indication – GI” ดังนั้น พืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตรผลแกที่มีคุณภาพเมื่อปลูกในพื้นที่ที่เหมาะสม ก็ควรสนับสนุนใหมีการผลิตเปนพืช GI
                  เชนเดียวกับพืชอื่น ๆ นอกจากนี้ นโยบายการกำหนดเขตการใชที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่
                  ที่เหมาะสม ใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และความตองการของตลาดในพื้นที่






                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136