Page 133 - Plan GI
P. 133

3-85





                  โดยการผลิตเกษตรกรรุนใหมที่มีความรูความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป การตลาด
                  และการบริหารจัดการ พรอมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการเกษตรใหทันสมัย

                        3.4.2 นโยบายพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ
                            นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และแนวทางการดำเนินงานปงบประมาณ
                  พ.ศ. 2561-62 มุงหวังใหเกิดการขับเคลื่อนภาคเกษตรกรรมใหเดินหนาตอไปได โดยมีนโยบาย

                  โดยเปาหมายการทำงาน คือ เกษตรกรเปนศูนยกลาง และการทำงานทุกระดับจะตองมีผูรับผิดชอบชัดเจน
                  รวมทั้งใหความสำคัญตอการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                             1) ลดตนทุนการผลิต โดยการบูรณาการรวมกัน กอใหเกิดกิจกรรมการลดตนทุนการผลิต
                  ใหแกเกษตรกร

                             2) จัดทำฐานขอมูลเกษตรกรที่ครอบคลุม สามารถนำไปแกปญหาและการชวยเหลือ
                  เกษตรกรในกรณีตางๆ ได เชน ดานหนี้สินเกษตรกร ดานอาชีพ ดานสถิติตางๆ ของภาคเกษตรกรรม
                  เชื่อมโยงกับภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการตามนโยบาย ซึ่งไดมอบหมาย
                  ใหหนวยงานที่มีระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับเกษตรกรเรงหารือในการบูรณาการฐานขอมูลใหเกิดเปน

                  เอกภาพ และสามารถนำไปใชประโยชนไดอยางแทจริง
                             3) การจัดหาแหลงน้ำเพื่อแกไขปญหาภัยแลง 2561-62 หนวยงานทั้งในสวนกลางและ
                  สวนภูมิภาค ตองรูสถานการณปจจุบันอยางชัดเจนและคาดการณแนวโนมที่อาจเกิดขึ้น พรอมทั้งเตรียม
                  หามาตรการรองรับสภาพปญหาตางๆ ไดทันทวงที รวมทั้งตองมีการวางแผนแกไขปญหาในระยะยาว

                  ซึ่งที่ผานมากระทรวงไดทำอยูแลว รวมทั้งการทำฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำ และในฤดูแลงที่จะมาถึงนี้
                  จะตองมีการหาแหลงน้ำใหเกษตรกรเพิ่มเติม และมาตรการชวยเหลือเกษตรกรตางๆ ตองดำเนินการ
                  อยางโปรงใส ตรวจสอบได สื่อสารใหเกษตรกรเขาใจ รูจักการใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพ

                             4) การสงเสริมเกษตรอินทรียเปนโอกาสในการเพิ่มมูลคาผลผลิตใหกับเกษตรกร และ
                  ผูบริโภคจะไดบริโภคสินคาที่มีความปลอดภัย ซึ่งมอบหมายใหหนวยสานที่เกี่ยวของวางแผนและ
                  ขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรียใหเกิดผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว
                                สำหรับงานที่ตองดำเนินการตอเนื่อง มีการผลักดันใหมีการทำการเกษตรใหเหมาะสม
                  กับพื้นที่ ปจจัยการผลิต และความตองการของตลาด พัฒนาผลผลิตการเกษตรใหมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน

                  มีสุขภาพอนามัยในระดับสากล ปรับปรุงโครงสรางการบริหารราชการใหเหมาะสม ปรับปรุงรัฐวิสาหกิจ
                  ใหมีความโปรงใส ตรวจสอบได กำหนดมาตรการในการตรวจสหกรณที่จริงจัง รวมทั้งเรงรัดแกปญหา
                  หนี้สินเกษตรกร

                                  งานเพื่อความยั่งยืน มีการเรงผลักดันงานวิจัยสนับสนุนเพื่อลดตนทุน เพิ่มผลผลิต
                  ตรงตามความตองการของตลาด การจัดโซนนิ่งการปลูกพืช มีผลผลิตที่ตรงกับความตองการทั้งปริมาณ
                  และคุณภาพ จัดหาแหลงน้ำที่เพียงพอตอ พัฒนาสหกรณใหมีความเขมแข็งรวมกลุมสมาชิกดูแล
                  ชวยเหลือดานปจจัยการผลิต ขณะที่ภาคราชการตองไมตกเปนเครื่องมือในการทุจริตคอรัปชั่นของ

                  นักการเมือง รวมทั้งการฟนฟูโครงการตามแนวพระราชดำริ ใหประชาชนมีสวนรวมในการดูแล ทั้งนี้
                  สำนักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด จะเปนกลไกสำคัญในการนำนโยบายของรัฐไปสูการปฏิบัติในพื้นที่
                  นำผลประโยชนสูเกษตรกรอยางทั่วถึง โดยเปนแกนหลักในการบูรณาการหนวยงานของกระทรวงใน








                  โครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย      กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138