Page 184 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 184

5-12






                  อาจตองใชมาตรการอนุรักษดินและน้ำเชิงกลโดยจัดทำคันดินขวางแนวความลาดชัน การทำทางระบายน้ำ

                  ออกจากพื้นที่และสามารถทำรวมกับการอนุรักษดินโดยใชระบบพืชดวย
                                  (3) ปรับปรุงคุณภาพของดินใหมีความอุดมสมบูรณและลักษณะทางกายภาพ
                  ของดินที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืช โดยการใชปุยอินทรียตาง ๆ เชน ปุยพืชสด ปุยคอก ซึ่งจะเปน

                  การปรับปรุงโครงสรางของดินใหดีขึ้นทำใหดินรวนซุย เพิ่มการอุมน้ำของดินใหดีขึ้น
                                  (4) ดำเนินการพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุง
                  ประสิทธิภาพแหลงน้ำตามธรรมชาติ เชน เหมือง ฝาย ลำคลองสาธารณะ ใหมีการกักเก็บน้ำไดดีขึ้น

                                3) เขตปลูกไมผล/ไมยืนตน/พืชผัก (หนวยแผนที่ 233)
                                  มีเนื้อที่ 160,139 ไร หรือรอยละ 1.92 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-

                  ประจวบคีรีขันธ สภาพพื้นที่ในเขตนี้มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึงมากเกินไป ดินมีปญหาความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  ดินเปนทรายจัด และดินตื้น พื้นที่ในเขตนี้ดินมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชไรเล็กนอยสามารถแบง
                  เขตการใชที่ดินออกเปน 2 เขต ตามศักยภาพและปญหาของดินไดดังนี้

                                  (1) เขตปลูกไมผล/ไมยืนตน/พืชผัก (หนวยแผนที่ 2331) มีเนื้อที่ 114,737 ไร
                  หรือรอยละ 1.37 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                                  (2) เขตปลูกไมผล/ไมยืนตน/พืชผักในพื้นที่ดินตื้น (หนวยแผนที่ 2333)
                  มีเนื้อที่ 45,402 ไร หรือรอยละ 0.54 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ

                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                                  (1) ควรเปนพื้นที่เปาหมายในการเรงรัดพัฒนาแกปญหาดินเปนทรายจัด และ
                  ดินตื้น พรอมทั้งปรับปรุงบำรุงดินอนุรักษดินและน้ำ ตามแนวทางของกรมพัฒนาที่ดิน

                                  (2) พัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็กในไรนา จัดทำเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทาง
                  ทฤษฎีใหมโดยเนนการเลี้ยงปศุสัตว ปลูกหญาเลี้ยงสัตว หรือทำประมง
                                  (3) บริเวณที่มีความลาดชันสูง สนับสนุนการปลูกสวนปาและไมโตเร็วควบคู

                  กับการอนุรักษดินและน้ำ
                                  (4) สงเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายไดใหกับครัวเรือนเกษตรกรในเขตนี้
                                4) เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ 240)
                                  มีเนื้อที่ 19,045 ไร หรือรอยละ 0.23 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ สภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกปานกลางถึงลึก เนื้อดินคอนขางเปนทราย
                  และบางพื้นที่เปนดินตื้น มีการระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับต่ำบางบริเวณ

                  มีการทำนาบนพื้นที่ดอนหรือที่เกษตรกรเรียกวานาโคก พื้นที่ในเขตนี้ดินมีความเหมาะสมเพียงเล็กนอย
                  เทานั้นสำหรับการปลูกขาว สภาพการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันเกษตรกรมีการใชที่ดินเพื่อการปลูกหญา
                  และเลี้ยงสัตว เลี้ยงสุกรเปนสวนใหญ เลี้ยงสัตวปก รวมทั้งเปนพื้นที่โรงเรือนเลี้ยงสัตว มักโดยอาศัย

                  น้ำฝนเปนหลัก พื้นที่เขตนี้พบมากบริเวณทางตอนกลางและตอนบนของพื้นที่ลุมน้ำหลัก











                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189