Page 186 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 186

5-14






                  "คฑาสุม" โกยเกลือมารวมเปนกองๆ เหมือนเจดียทราย เพื่อใหเกลือแหงน้ำ จากนั้นจะหาบเกลือลงเรือ

                  บรรทุกลองไปตาม "แพรก" หรือคลองซอยเล็กๆ แลวหาบขึ้นไปเก็บไวในลานเกลือหรือฉางเกลือ
                  รอการจำหนายตอไป (2) นาเชื้อ เปนที่สำหรับรอใหเกลือตกผลึก ใชสำหรับเก็บน้ำทะเลเพื่อปองกันใหนาปลง
                  บางครั้งถาเกลือราคาดี อาจใชนาเกลือทำเกลือทำเกลือเหมือนนาปลง แตตองเสียเวลาและสิ้นเปลือง

                  คาแรงในการหาบเกลือเก็บไวในฉางเนื่องจากอยูไกลจากลำคลอง (3) นาตาก พื้นที่สุดทายที่จะที่จะได
                  ผลิตผลจากน้ำทะเล คือ เกลือสมุทร จะอยูจดชายทะเล มีขนาดใหญมาก ตั้งระหัดเพื่อใชวิดน้ำทะเลจาก
                  รางน้ำทะเลเขานาตาก ผลผลิตเกลือทะเลในสภาพอากาศปกติ โดยเฉลี่ยทั้งประเทศมีประมาณปละ
                  990,000 ตันผลผลิตจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับสภาพอากาศวาปใดมีฝนตกมากหรือนอย

                        1.3  เขตชุมชนและสิ่งปลูกสราง (หนวยแผนที่ 3)

                            มีเนื้อที่ 458,094 ไร หรือรอยละ 5.48 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                  พื้นที่ของเขตนี้เปนบริเวณที่ตั้งของหมูบานและสถานที่ราชการ 354,608 ไร เขตโรงงานอุตสาหกรรม
                  34,218 ไร ถนน 30,586 ไร และสิ่งปลูกสรางอื่น ๆ ไดแก สถานที่พักผอนหยอนใจ สถานที่ราง
                  สถานีบริการน้ำมัน สุสาน ปาชา อีกประมาณ 38,683 ไร

                            ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                            หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธควรเรงศึกษา
                  ปญหาและความตองการของทองถิ่น ตลอดจนจัดลำดับความสำคัญของปญหาเพื่อนำมากำหนดแนวทาง
                  ในการพัฒนาไดอยางถูกตองตามความตองการของชุมชน ในประเด็นปญหาบางเรื่องที่เกินขีดความสามารถ

                  ของทองถิ่น ทางหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธควรทำเรื่อง
                  ถึงสวนราชการที่เกี่ยวของโดยตรงเพื่อขอรับการสนับสนุนในการศึกษาปญหา แนวทาง การแกไข
                  จัดทำโครงการและงบประมาณเพื่อการดำเนินการตอไป

                        1.4  เขตแหลงน้ำ (หนวยแผนที่ 4)
                            มีเนื้อที่ 178,465 ไร หรือรอยละ 2.14 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ

                  พื้นที่ของเขตนี้เปนบริเวณแหลงน้ำตามธรรมชาติ และแหลงน้ำผิวดินที่สรางขึ้น
                            ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                              (1) ควรเรงดำเนินการศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาแหลงน้ำผิวดินเพิ่มเติม
                  แตตองคำนึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยทั่วไปประกอบการพิจารณาดังกลาว

                              (2) ควรมีการบำรุงรักษาและขุดลอกแหลงน้ำตามธรรมชาติที่มีอยูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
                  ของการเก็บกักน้ำ
                              (3) หนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ

                  ควรเรงจัดทำโครงการเพื่อจัดหาแหลงน้ำขนาดเล็กในไรนาของเกษตรกรและประสานงานกับกรมพัฒนาที่ดิน
                  ซึ่งเปนหนวยงานที่ไดรับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณใหเปนหนวยงานที่รับผิดชอบ
                  การพัฒนาแหลงน้ำขนาดเล็ก โดยจัดทำกรอบแผนการดำเนินการตามลำดับความสำคัญ
                              (4) บริเวณพื้นที่ลุมในแตละพื้นที่ซึ่งเปนที่สาธารณประโยชน หนวยงานของรัฐ

                  ที่มีหนาที่เกี่ยวของควรมีการตรวจสอบ ปองกันและดำเนินการแกไขปญหาการบุกรุกยึดครองพื้นที่








                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191