Page 181 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 181

5-9






                  ที่ตองอยูในระดับที่ดี เชน ปุย สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช และกิ่งพันธุ ปญหาหนี้สินของเกษตรกร

                  ซึ่งมีผลตอการลงทุนของเกษตรกร การควบคุมคุณภาพของผลผลิต การจัดการตลาดที่จะรับซื้อผลผลิต
                  ทางการเกษตรที่เปนระบบ

                            1.2.1 เขตเกษตรกาวหนา
                                มีเนื้อที่ 1,589,547 ไร หรือรอยละ 19.02 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ พื้นที่เขตนี้ถูกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ซึ่งลักษณะดินที่พบในที่ลุมสวนใหญเปนดินลึกมาก

                  โดยสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว มีการใชประโยชนที่ดิน
                  สำหรับการทำนา สวนบริเวณที่เปนที่ดอนมีสภาพพื้นที่ตั้งแตราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่น
                  ลอนลาด ลักษณะดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง การใชประโยชนที่ดิน

                  บริเวณดังกลาวนี้สวนใหญมีการปลูกพืชไร ไดแก ขาวโพด ออยโรงงาน มันสำปะหลัง เปนตน บางพื้นที่มี
                  แหลงน้ำที่สมบูรณเพียงพอ เกษตรกรจะใชพื้นที่เพื่อทำนา ปลูกพืชผัก และไมผล ไดแก กลวยหอม มะมวง
                  ไมผลผสม เปนตน นอกจากนั้นยังมีการปลูกไมยืนตน เชน สัก ยางพารา มะขาม สะเดา เปนตน
                  ผลการประเมินความเหมาะสมของดินทางกายภาพในเขตนี้พบวา อยูในระดับความเหมาะสมปานกลางถึงสูง

                  ตอการปลูกพืช ซึ่งอาจมีขอจำกัดบางประการในการใชที่ดิน พื้นที่เขตเกษตรกาวหนาสามารถแบงเขต
                  การใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 3 เขต ตามศักยภาพและความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                1) เขตทำนา (หนวยแผนที่ 221)
                                  มีเนื้อที่ 36,045 ไร หรือรอยละ 0.43 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-

                  ประจวบคีรีขันธ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก
                  มีการระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปน
                  เขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดิน
                  จากการปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได

                                2) เขตปลูกพืชไร (หนวยแผนที่ 222)
                                  มีเนื้อที่ 478,203 ไร หรือรอยละ 5.72 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบเปน

                  ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำดี ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลาง
                  สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชไร เชน ขาวโพด มันสำปะหลัง เปนตน พื้นที่เขตนี้
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกพืชไรพื้นที่ที่อาศัยน้ำฝน หากมีการพัฒนาชลประทานและ
                  ระบบสงน้ำแลว เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูกพืชไรมาเปนการปลูกไมผลหรือ
                  พืชผัก ทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอินทรียได

                                3) เขตปลูกไมผล/ ไมยืนตน/ พืชผัก (หนวยแผนที่ 223)
                                  มีเนื้อที่ 1,075,299 ไร หรือรอยละ 12.87 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึก

                  มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินใน
                  ปจจุบันสวนใหญเปนไมผลหรือพืชผัก ซึ่งไมผลที่พบมาก เชน กลวยหอม และมะมวง เปนตน ไมยืนตน
                  เชน ยางพารา ยูคาลิปตัส เปนตน  พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186