Page 179 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 179

5-7






                                2) เขตฟนฟูสภาพปา (หนวยแผนที่ 132)

                                  มีเนื้อที่ 91,294 ไร หรือรอยละ 1.09 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธพื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ควรสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษสภาพแวดลอม
                  โดยในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกที่ดิน มีการตัดตนไม

                  เพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใชดานเกษตรกรรมในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อดินเสื่อมสภาพลงสงผลให
                  ผลผลิตทางการเกษตรลดลงจนไมคุมกับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกราง
                  แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไมของพันธุไมดั้งเดิม ถาไมมีการรบกวนพื้นที่โดยเฉพาะอยางยิ่งกับการใชที่ดิน
                  ดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาไมก็สามารถกลับฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณไดอีกครั้ง

                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                                ชุมชนควรมีมาตรการในการปองกันรักษาสภาพปาไมที่สมบูรณใหคงสภาพดังกลาวไว เพื่อให
                  เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และการใชประโยชนรวมกันของพื้นที่ ในขณะเดียวกันหนวยงาน
                  ของรัฐบาลที่มีหนาที่รับผิดชอบควรเรงดำเนินการสำรวจและวางมาตรการปองกันและรักษาสภาพปาใหสมบูรณ

                        1.2  เขตเกษตรกรรม

                              มีเนื้อ 3,063,162 ไร หรือรอยละ 36.65 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ พื้นที่เขตการเกษตรนี้เปนบริเวณที่อยูนอกเขตที่มีการประกาศเปนเขตปาไม
                  ตามกฎหมาย เขตนี้เกษตรกรมีการใชพื้นที่เพื่อทำการเกษตร เชน นาขาว พืชไร ไมผล พืชผัก หรือไมยืนตน
                  แตเมื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการเกษตรและทิศทางการพัฒนาพื้นที่นี้

                  สามารถแบงพื้นที่เขตการเกษตรเปน 3 เขต คือ เขตเกษตรพัฒนา เขตเกษตรกาวหนา และเขตเรงรัด
                  พัฒนาการเกษตร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                              1) เขตเกษตรพัฒนา
                                พื้นที่ของเขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมในพื้นที่ชลประทาน (หนวยแผนที่ 21)

                  มีเนื้อที่ 682,058 ไร หรือรอยละ 8.16 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ พื้นที่ในเขตนี้
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลว
                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง และเปนพื้นที่ที่มีการพัฒนาระบบน้ำชลประทาน

                  หรือระบบสูบน้ำดวยไฟฟาเพื่อการเพาะปลูก ดังนั้น ในชวงฤดูแลงหลังจากการเก็บเกี่ยวขาวนาป
                  ในพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำเพียงพอ เกษตรกรสามารถปลูกพืชครั้งที่สองโดยเฉพาะขาวนาปรัง หรือพืชไร
                  เชน ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง เปนตน ซึ่งพื้นที่ในเขตนี้พบมากในบริเวณอำเภอเมืองเชียงใหม
                  จังหวัดเชียงใหม พื้นที่เขตเกษตรพัฒนาสามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 4 เขต
                  ตามศักยภาพและความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้

                                (1) เขตเกษตรผสมผสาน (หนวยแผนที่ 210)
                                  มีเนื้อที่ 238 ไร มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย ดินที่พบเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำเลวถึงคอนขางเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  ระดับปานกลางถึงสูง พื้นที่เขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการเกษตรผสมผสาน
                  ดังนั้นในชวงฤดูฝน ถามีฝนทิ้งชวงก็จะมีผลกระทบตอขาว พืชไรที่ปลูกได








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184