Page 174 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 174

5-2






                                  ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่

                                  จากการที่รัฐบาลมีนโยบายที่เดนชัดในการรักษาพื้นที่ปาไม โดยเฉพาะบริเวณ
                  ที่เปนปาสมบูรณใหคงสภาพอยูเพื่อรักษาความสมดุลในระบบนิเวศวิทยาภายในพื้นที่ ดังนั้น
                  ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่ในพื้นที่ดังกลาวจึงควรดำเนินการดังนี้

                                  (1) ควบคุมมิใหมีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติไปใชประโยชนในรูปแบบอื่น ๆ
                                  (2) ควรมีการบำรุงรักษาสภาพปาธรรมชาติตามหลักวิชาการ
                                  (3) ดำเนินการปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปาใหมี
                  ประสิทธิภาพและมีผลการปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยดำเนินการกับผูกระทำผิดอยางเด็ดขาด

                                  (4) ถาบริเวณนี้มีการบุกรุกพื้นที่ในภายหลัง เจาหนาที่ผูรับผิดชอบในพื้นที่
                  ควรรีบดำเนินการปลูกปาทดแทนโดยเร็ว เพื่อปองกันการขยายพื้นที่ของการบุกรุกตอไป
                                  (5) ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของ
                  ทรัพยากรปาไมและมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่

                                2) เขตฟนฟูสภาพปา (หนวยแผนที่ 112)
                                  มีเนื้อที่ 35,182 ไร หรือรอยละ 0.42 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ตองสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษ ในอดีตพื้นที่
                  บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกพื้นที่ โดยการตัดตนไมเพื่อใช

                  ประโยชนและนำที่ดินมาใชดานเกษตรกรรมในระยะเวลาหนึ่ง เมื่อดินเสื่อมสภาพลง ผลผลิตทางการ
                  เกษตรกรรมเริ่มลดลงจนไมคุมกับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกราง
                  แตเนื่องจากพื้นที่นี้มีลูกไมของพันธุไมดั้งเดิม ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง
                  ถาไมมีการรบกวนพื้นที่ดังกลาวโดยเฉพาะการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรม

                  สามารถฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณไดอีกครั้ง พื้นที่เขตนี้พบบริเวณทางตอนบนของพื้นที่ลุมน้ำหลัก
                                แนวทางการพัฒนา
                                  (1) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน
                  2541 ใหความเห็นชอบกับ “มาตรการและแนวทางแกไขปญหาที่ดินพื้นที่ปาไมและใหดำเนินการตอไป”

                  โดยมุงเนนแกไขปญหาในพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา
                  เขตหาม ลาสัตวปาและปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 และ ชั้นที่ 2)
                  กำหนดใหกรมปาไมสำรวจพื้นที่ที่มีการครอบครองใหชัดเจน

                                  (2) ใหหนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน
                  2540 เรื่อง “แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไมระดับพื้นที่” เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน
                  และปาไมอยางมีระบบโดยเปนการอนุรักษควบคูกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสงวนรักษาทรัพยากรปาไม
                  ที่เหลืออยูและฟนฟูทรัพยากรปาไมที่เสื่อมสภาพ ทั้งนี้ อยูบนหลักการลดปญหาความขัดแยง
                  การใชทรัพยากรในพื้นที่

                                  (3) ใชมาตรการทางกฎหมายเปนเครื่องมือในการคุมครองและอนุรักษพื้นที่
                  โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการควบคุม ปองกันและปราบปรามการบุกรุกพื้นที่
                  เพื่อนำกลับมาใชเพื่อการเกษตรกรรมอยางเครงครัดและตอเนื่อง โดยมีบทลงโทษตามกฎหมายที่

                  กำหนดไว





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179