Page 177 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 177

5-5






                                  (5) ควรสงเสริมใหราษฎรในพื้นที่และพื้นที่ขางเคียงเห็นคุณคาของทรัพยากรปาไม

                  และมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไมในพื้นที่
                                เพื่อเปนการรักษาสภาพปาไมใหสมบูรณและใหทรัพยากรปาไมมีผลผลิตสม่ำเสมอ
                  ตลอดไป ในขณะเดียวกันควรกำหนดมาตรการในการใชประโยชนจากปาไมและการหาของปารวมกัน

                  ระหวางองคกรของราษฎรในพื้นที่รวมกับเจาหนาที่ของรัฐฯ ที่รับผิดชอบและเสริมความรูใหกับราษฎร
                  ในพื้นที่ใหเห็นความสำคัญของปาไม

                                2) เขตฟนฟูสภาพปา (หนวยแผนที่ 122)
                                  มีเนื้อที่ 19,212  ไร หรือรอยละ 0.23 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ พื้นที่เขตนี้อยูภายใตขอกำหนดที่ตองสงวนพื้นที่เพื่อการอนุรักษปาไมในเขตพื้นที่ปาไมเพื่อ

                  การใชประโยชนดานเศรษฐกิจ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกที่ดิน
                  มีการตัดตนไมเพื่อใชประโยชนและนำที่ดินมาใชดานเกษตรกรรม แตเนื่องจากขอจำกัดของลักษณะทางกายภาพของ
                  ดินและสภาพภูมิประเทศในเขตนี้ไมเหมาะสมสำหรับการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจากดินที่พบสวนใหญเปนดินตื้น
                  หรือสภาพพื้นที่มีความลาดชันเกินกวา 35 เปอรเซ็นต เมื่อดินเสื่อมโทรมลง ผลผลิตทางการเกษตรกรรมเริ่ม

                  ลดลงจนไมคุมกับการลงทุน เกษตรกรที่ครอบครองที่ดินก็ปลอยใหเปนที่รกรางวางเปลา และเนื่องจากพื้นที่
                  บริเวณนี้มีลูกไมของพรรณไมดั้งเดิม ซึ่งสามารถเจริญเติบโตและปรับสภาพไดระดับหนึ่ง ถาไมมีกิจกรรมที่จะรบกวน
                  พื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชที่ดินดังกลาวเพื่อการเกษตรกรรม สภาพปาที่เสื่อมโทรมจะสามารถ
                  ฟนตัวขึ้นมาเปนปาไมที่สมบูรณไดอีกครั้ง จึงควรใหพื้นที่บริเวณนี้กลับคืนสูสภาพปาตามธรรมชาติดังเดิม

                  หรือใชพื้นที่นี้ปลูกไมโตเร็วในลักษณะของสวนปาเศรษฐกิจหรือปาชุมชนของเกษตรกรในพื้นที่
                                ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่
                                  (1) กำหนดมาตรการและแนวทางในการปองกันมิใหราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้เพื่อนำ
                  กลับมาใชดานการเกษตรกรรม

                                  (2) ควรจัดทำแนวกันไฟเพื่อปองกันไฟปาที่อาจเกิดขึ้นไดจากธรรมชาติหรือ
                  กิจกรรมจากมนุษย เพื่อใหปาไมมีการฟนตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ
                                  (3) ควรจัดการอบรมแนะนำใหราษฎรในพื้นที่ขางเคียงไดเห็นถึงคุณคาของ

                  ทรัพยากรปาไมและการมีสวนรวมในการดูแลรักษาปาไม
                                3) เขตฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใตเงื่อนไข (หนวยแผนที่ 123)

                                  มีเนื้อที่ 365,758 ไร หรือรอยละ 4.38 ของพื้นที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ พื้นที่เขตนี้อยูในเขตปาตามกฎหมาย พื้นที่ในเขตนี้จึงเปนพื้นที่รอการพิสูจนสิทธิ์
                  ดังนั้นมาตรการการใชที่ดินดังกลาวควรเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องมาตรการและแนวทางการ

                  แกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปาไม เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ซึ่งมาตรการการใชที่ดินพื้นที่ในเขตนี้อยู
                  ภายใตขอกำหนดใหเปนปาไมเพื่อการใชประโยชนดานเศรษฐกิจ ในอดีตพื้นที่บริเวณนี้เคยเปนปาไมที่
                  สมบูรณตามธรรมชาติ ตอมามีการบุกรุกโดยการตัดตนไมและนำที่ดินมาใชประโยชนดานเกษตรกรรม
                  ไดแก พืชไรหรือไรหมุนเวียน หรือบริเวณที่เปนดินตื้นซึ่งไมเหมาะสมตอการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

                  เนื่องจากขอจำกัดดังกลาว เมื่อเวลาฝนตกจึงมีแนวโนมของการเกิดการชะลางพังทลายของดิน
                  ในระดับคอนขางสูง ทำใหหนาดินที่มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติสูญเสียไป นอกจากนั้นจะเกิด






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182