Page 185 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 185

5-13






                                5) เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ/พืชน้ำ (หนวยแผนที่ 250)

                                  มีเนื้อที่ 179,267   ไร หรือรอยละ 2.15 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึก
                  มีการระบายน้ำคอนขางดี การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามีความสำคัญในวัฎจักรของสัตวน้ำ

                  และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดีจำเปนตองอาศัยการดูแลใหถูกวิธี
                  เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถจำหนายไดในราคาที่ดีสงผล
                  ใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะของการเลี้ยงแตกตาง
                  กันออกไป จากการศึกษาพบวาบริเวณพื้นที่ลุมน้ำสาขาแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ

                  นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำประมงควบคูกันไปดวย โดยปลาที่นิยม
                  เลี้ยงไดแกปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ
                  เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายในทองถิ่น ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อ
                  เปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน พื้นที่เขตนี้พบมากบริเวณทางตอนกลาง และตอนลางของพื้นที่ลุมน้ำ

                  หลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
                                6) เขตทุงหญาเลี้ยงสัตว (หนวยแผนที่ 260)
                                  มีเนื้อที่ 248,537 ไร หรือรอยละ 2.97 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ สภาพการใชที่ดินที่พบเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงต่ำ

                  มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชันหญาเปนอาหารของสัตวหลายชนิด ไมเฉพาะแตชาง
                  มา วัว ควาย แพะ แกะ ซึ่งเปนสัตวใหญ สัตวตัวเล็ก ๆ เชน กระตาย หรือหนูบางชนิด การปลูกหญา
                  ทำทุงเลี้ยงสัตวใหมีคุณภาพที่เอื้อประโยชนแกสัตว เปนเรื่องที่ใชความรู ทั้งดานพืช ดิน ปุย
                  รวมทั้งการเลี้ยง และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูกหญาเลี้ยงสัตว อาจทำไดในพื้นที่ขนาดตาง ๆ เชน

                  อาจปลูกแบบหญาสวนครัว ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทุงใหญ สำหรับปลอย
                  สัตวเขาไปแทะเล็ม หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชน มะพราว มะมวงหิมพานต
                  แลวเลี้ยงสัตวควบคูกันไป ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว จากการศึกษาพบวาบริเวณพื้นที่
                  ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมดานการปลูกพืชแลว

                  เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย โดยสัตวที่นิยมเลี้ยงไดแก โคนื้อ โคนม หรือกระบือ วัตถุประสงค
                  ของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อจำหนายและไวใชแรงงาน
                  ซึ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว

                                7) เขตทำนาเกลือ (หนวยแผนที่ 270)
                                  มีเนื้อที่ 29,320 ไร หรือรอยละ 0.35 ของเนื้อที่ลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-
                  ประจวบคีรีขันธ สภาพการใชที่ดินที่พบเปนทำนาเกลือ (กลือทะเลหรือเกลือสมุทร: Sea Salt)
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ และดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  จากการศึกษาพบวาบริเวณพื้นที่ลุมน้ำสาขาแมน้ำเพชรบุรีตอนลาง มีการผลิตเกลือจากน้ำทะเล

                  พบอยูตามพื้นที่ใกลชายฝงอาวไทย เชน จังหวัดเพชรบุรี และ สมุทรสงคราม การผลิตเกลือโดยทั่วไป
                  เปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร มีขั้นตอนการทำนาเกลือ (1) นาปลง เปนนาขั้นตอนสุดทาย
                  ตากน้ำเค็มไวประมาณ 10-15 วัน เมื่อเริ่มตกผลึกเปนเกลือหนา นิ้ว ก็จะเริ่มรื้อเกลือโดยใช "คฑารื้อ"

                  แซะใหเกลือแตกออกจากกันแลวใช "คฑาแถว" ชักลากเกลือมากองรวมกันเปนแถว ๆ จากนั้นใช





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190