Page 114 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 114

3-80





                  แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ หนวยที่ดินที่ 55B 55C และ55D มีเนื้อที่ 7,543 ไร หรือรอยละ 0.09

                  ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (23) หนวยที่ดินที่เปนดินรวนลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้นที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่
                  หรือเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลของวัสดุดินเนื้อหยาบ สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบถึงเนินเขา มีการระบายน้ำดี เนื้อดินชั้นบนเปนดินรวนปนทรายสีน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก
                  ถึงกรดจัด เนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
                  มากถึงกรดจัด ชั้นดินลางในชวงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน เปนชั้นหินพื้นของหินเนื้อหยาบ
                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.0-7.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง

                  และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ความอุดมสมบูรณ
                  ตามธรรมชาติต่ำ การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน คือ ใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด และมันสำปะหลัง
                  บางพื้นที่มีสภาพเปนปา ปญหาในการเพาะปลูก คือ พื้นที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลาย
                  สูญเสียหนาดินไดงายและขาดแคลนน้ำในระยะที่ฝนทิ้งชวงนานประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ คือ

                  หนวยที่ดินที่ 56 56M3 56B 56BM3 56BI 56C 56CM3 56CI 56D และ56E มีเนื้อที่ 393,510 ไร
                  หรือรอยละ 4.70 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (24) กลุมดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้ำ บริเวณพื้นที่เนินตะกอน เปนหนวยผสมของดินหลาย
                  ชนิดที่เกิดจากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกันซึ่งสวนใหญมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบถึง

                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เปนดินลึกเนื้อดินเปนพวกดินรวน
                  บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทราย หรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดิน
                  อันเปนผลมาจากการเกิดน้ำทวมใหญในอดีต ดินกลุมนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณปานกลาง
                  และปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.0-7.0

                  ปจจุบันมีการใชประโยชนคอนขางกวางขวาง นิยมใชปลูกพืชไร ไมผล และไมยืนตนตาง ๆ
                  เนื่องจากหนวยแผนที่นี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้นในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกวาเปน
                  พวกดินตะกอนลำน้ำที่มีการระบายน้ำดี คือ หนวยที่ดินที่ 60 และ60M3 มีเนื้อที่ 6,118 ไร หรือรอยละ
                  0.08 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (25) หนวยที่ดินที่ประกอบดวยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35
                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมีการสำรวจและจำแนกดิน เนื่องจากยากตอการจัดการดูแลที่ดินในพื้นที่ทำ
                  การเกษตร ไดแก หนวยที่ดินที่ 62 (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซอน) มีเนื้อที่ 3,701,525 ไร หรือรอยละ

                  44.33 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                        3) หนวยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้ (1) พื้นที่เลี้ยงสัตวน้ำ (AQ) มีเนื้อที่ 68,313 ไร หรือรอยละ 0.82
                  ของพื้นที่ลุมน้ำ (2) เกาะ (I) มีเนื้อที่ 1,095 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ำ (3) ที่ลุมชื้นแฉะ
                  (Marsh) มีเนื้อที่ 71}936 หรือรอยละ 0.86 ของพื้นที่ลุมน้ำ (4) พื้นที่บอขุด (P) มีเนื้อที่ 2,946 ไร
                  หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่ลุมน้ำ (5) ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน (RL) มีเนื้อที่ 1,408 ไร หรือรอยละ 0.02

                  ของพื้นที่ลุมน้ำ (6) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีเนื้อที่ 459,644 ไร หรือรอยละ 5.50 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                  และ (7) พื้นที่น้ำ (W) มีเนื้อที่ 178,465 ไร หรือรอยละ 2.14 ของพื้นที่ลุมน้ำ









                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119