Page 113 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 113

3-79





                  บริเวณที่ลาดเชิงเขาตางๆ เปนกลุมดินตื้น มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินรวนปนเศษหิน

                  สวนใหญเปนพวกเศษหินทรายและควอตซ หรือหินดินดาน สีดินเปนสีน้ำตาลสีเหลืองหรือสีแดง
                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปน
                  ดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อ

                  ดินเปนปริมาณมาก และดินมีความอุดมสมบูรณต่ำ บริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลางพังทลาย
                  ของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปาดิบชื้น บางแหงใชปลูกยางพารา หรือปลอยทิ้งเปนปา
                  ละเมาะ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 51C 51D และ51E มีเนื้อที่ 12,303 ไร หรือรอยละ
                  0.15 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (20) กลุมชุดดินที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ ทับอยูบนชั้นปูนมารล พบบริเวณที่ลาดเชิงเขาหินปูน
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินตื้นหรือถึงชั้นปูนมารล
                  มีการระบายน้ำดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว ดินรวนเหนียว หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง ที่มีกอนปูน
                  หรือปูนมารลปะปนอยูมาก สีดินเปนสีดำ สีน้ำตาลหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง

                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 7.0-8.5 มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไร เชน ฝาย ขาวโพด ถั่ว และ ไมผลบางชนิด เชน มะมวง มะพราว
                  และนอยหนา ถาในกรณีที่พบชั้นปูนมารลลึกกวา 25 เซนติเมตร หากนำมาใชปลูกพืชไร ปญหาในการใช
                  ประโยชนที่ดินจะมีนอย แตถาพบชั้นปูนมารลตื้นกวา 25 เซนติเมตร มีปญหาเรื่องการไถพรวน

                  แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 52B 52BM3 52udic,B และ52udic,C มีเนื้อที่ 7,583 ไร
                  หรือรอยละ 0.09 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (21) หนวยที่ดินที่เปนดินลึกปานกลาง เปนกลุมดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต
                  ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนัก

                  ของวัตถุตนกำเนิดดินที่มาจากหินเนื้อละเอียด บนบริเวณพื้นที่ดอน ที่เปนลูกคลื่นหรือเนินเขา
                  เปนกลุมดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ำดี เนื้อดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สวนดินลาง
                  ในระดับความลึกระหวาง 50-100 เซนติเมตร เปนดินลูกรังหรือดินปนเศษหินผุ ซึ่งเปนพวกหินดินดาน
                  สีดินเปนสีน้ำตาลออน สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรด

                  จัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5 ประกอบดวยหนวยดินตาง ๆ คือ
                  หนวยที่ดินที่ 53C และ53D มีเนื้อที่ 1,596 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (22) กลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูก

                  เคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนัก ของวัตถุตนกำเนิดดินที่มาจากวัสดุเนื้อละเอียดที่มีปูนปน
                  พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง
                  มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว ในดินชั้นลางที่ระดับความลึก 50 – 100
                  เซนติเมตร พบชั้นหินผุ ซึ่งสวนใหญเปนหินตะกอนเนื้อละเอียด บางแหงมีกอนปูนปะปนอยูดวย
                  สีดินเปนสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง

                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 6.0-8.0 มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง
                  ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีโครงสรางแนนทึบยากตอการไชชอนของรากพืช
                  มักเกิดขั้นดานไถพรวนไดงาย หากไถพรวนในระยะเวลาที่ไมเหมาะสม ปจจุบันบริเวณดังกลาว

                  ใชปลูกพืชไรบางชนิด เชน ขาวโพด มันสำปะหลัง กลวย บางแหงเปนปาละเมาะ หญาเพ็กและไผ





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118