Page 112 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 112

3-78





                  ประจุบวกต่ำ และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดินของ

                  หนวยแผนที่นี้ไดแก เปนดินตื้น มีความอุดมสมบูรณต่ำ บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับ
                  การชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกไมยืนตน หรือไมผลบางชนิด
                  บางแหงเปนที่รกรางวางเปลาหรือทุงหญาธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 45B 45C

                  45CI 45D และ45E มีเนื้อที่ 19,744 ไร หรือรอยละ 0.23 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (16) กลุมชุดดินที่เปนดินเปนพวกดินเหนียวหรือดินรวน ที่มีเศษหินปะปนมาก และพบชั้นหินพื้น
                  ลึก 50-80 เซนติเมตร เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อละเอียด มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้น บางแหงมีกอนหินบนผิวดิน มีการระบายน้ำดี คาความเปนกรด-ดาง

                  ดินบนอยูระหวาง 5.5-7.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง และความอิ่มตัว
                  ดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ำ
                  พื้นที่ที่มีความลาดชันเกิดการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปาเบญจพรรณ
                  ปาเต็งรัง หรือ ปาละเมาะ บางแหงใชทำไรเลื่อนลอย หรือปลูกปาทดแทน ขาดแคลนน้ำ

                  บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ หนวยที่ดินที่ 47C 47D และ47E
                  มีเนื้อที่ 19,848 ไร หรือรอยละ 0.24 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (17) กลุมชุดดินที่เปนดิน สวนใหญเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนเศษ
                  หินหรือปนกรวด กอนกรวดขนาดใหญเปนหินกลมมน ถาเปนดินปนเศษหินมักพบชั้นหินพื้นตื้นกวา

                  50 เซนติเมตร สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินตื้น บางแหงมีหินโผล
                  คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 4.5-5.0 คาความประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง
                  และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ คาการนำไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  พื้นที่ที่มีความลาดชันเกิดการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวเปนปา เบญจพรรณ

                  ปาเต็งรัง ปาละเมาะ และทุงหญาธรรมชาติ บางแหงใชปลูกพืชไร ยางพารา หรือไมโตเร็ว ขาดแคลนน้ำ
                  บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 48B 48BM3 48BI 48C
                  48CI 48D และ48E มีเนื้อที่ 636,741 ไร หรือรอยละ 7.62 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (18) กลุมชุดดินที่เปนดินรวนลึกปานกลางถึงเศษหิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่

                  หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ
                  บนพื้นที่ดอน มีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา เปนกลุมดินลึกปานกลาง
                  มีการระบายน้ำดี เนื้อดินชวง 50 เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย

                  ในระดับความลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรัง สีดินเปนสีน้ำตาล
                  สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด
                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก
                  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ำ ดินคอนขางเปนทราย ถาพบบริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลาง
                  พังทลายของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชปลูกยางพารา ไมผล สับปะรด กลวย และ

                  แตงโมแบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ หนวยที่ดินที่ 50B 50BM3 50C 50CI 50D และ50E มีเนื้อที่
                  124,990 ไร หรือรอยละ 1.51 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (19) กลุมชุดดินที่เปนดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยาย

                  มาในระยะทางไมไกลนักของวัตถุตนกำเนิดดินที่มาจากหินเนื้อหยาบ บนบริเวณพื้นที่ดอน





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117