Page 107 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 107

3-73





                  ดังนั้นในปจจุบันจึงปลอยทิ้งใหรกรางวางเปลา มีหญา เสม็ด และไมพุมเล็ก ๆ ขึ้นอยูทั่วไป

                  แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 57 และ57M2 มีเนื้อที่ 925 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (22) กลุมชุดดินที่เปนดินที่มีอินทรียวัตถุหนามากกวา 100 เซนติเมตร เปนกลุมดินที่มีลักษณะ
                  คลายคลึงกับกลุมดินที่ 57 คือ เปนกลุมดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ำหรือพื้นที่พรุ ที่อยูไมไกลจากทะเล

                  มากนัก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบมีน้ำแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป
                  เปนดินลึก การระบายน้ำเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรีย แตชั้นดินอินทรียที่พบหนากวา 100
                  เซนติเมตร และมีเนื้อหยาบกวา อีกทั้งมีเศษพืชขนาดเล็กและขนาดใหญปะปนอยูทั่วไป สีดินเปนสีดิน
                  หรือสีน้ำตาล ที่ความลึกมากกกวา 200 เซนติเมตร อาจพบดินเลนตะกอนน้ำทะเลสีเทาหรือสีเทาปนเขียว

                  และมีสารประกอบกำมะถัน (ไพไรต) อยูมาก มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำมาก ปฏิกิริยาดิน
                  เปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรดเปนดางนอยกวา 4.5 ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดินของ
                  หนวยแผนที่นี้ไดแก เปนดินอินทรียที่มีคุณภาพต่ำ เปนกรดจัดมาก ขาดธาตุอาหารพืชตาง ๆ
                  อยางรุนแรง และยากตอการใชเครื่องมือทางการเกษตรเนื่องจากเปนที่ลุมต่ำและดินยุบตัว

                  หากมีการระบายน้ำออกเมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญยังคงสภาพปาพรุ
                  บริเวณขอบ ๆ พรุบางแหง ใชปลูกพืชลมลุกและพืชผักสวนครัว แตไมคอยไดผล เมื่อปาพรุถูกทำลายไป
                  จะมีพืชตาง ๆ เชน กระจูด เฟรน และเสม็ดขึ้นแทนที่ แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 58
                  และ58M2 มีเนื้อที่ 3,195 ไร หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (23) กลุมดินนี้พบบริเวณที่ราบลุมหรือบริเวณพื้นลางของเนิน หรือหุบเขา มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิดจากตะกอนลำน้ำพัดพามาทับถมกัน
                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติตาง ๆ เชน เนื้อดิน สีดิน
                  ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอน ขึ้นอยูกับชนิดของ

                  วัตถุตนกำเนิดดินในบริเวณนั้นๆ สวนมากมีกอนกรวดและเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินดวย
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชประโยชนในการทำนา สวนในฤดูแลง ถามีแหลงน้ำ นิยมใชปลูกขาว
                  และปลูกพืชผักหรือพืชไรอายุสั้น เชน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ตามหลังนา เนื่องจากหนวยแผนที่นี้
                  เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด จึงเรียกวาเปนพวกดินตะกอนลำน้ำที่มีการระบายน้ำเลว คือ

                  มีหนวยที่ดินที่ 59 59M2 และ 59M4 มีเนื้อที่ 11,898 ไร หรือรอยละ 0.14 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                        2) ดินในพื้นที่ดอน ประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ ดังนี้
                          (1) กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนลำน้ำหรือวัตถุตนกำเนิดดินเนื้อ
                  ละเอียด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินตนกำเนิดชนิดตางๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทาง
                  ไมไกลนักของหินเนื้อละเอียดซึ่งมีทั้งหินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร หรือเกิดจากวัตถุ

                  ตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ ในบริเวณพื้นที่ดอน มีลักษณะเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา
                  เปนกลุมดินลึกมากที่มีการระบายน้ำดี เนื้อดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนดินเหนียว หรือ ดินเหนียว
                  สวนดินลางเปนพวกดินเหนียว สีดินเปนสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตาม

                  ธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยู
                  ระหวาง 5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำ และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ำ
                  คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ปญหาสำคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก สวนบริเวณที่หนาดินมีทรายปน
                  และมีความลาดชันสูงมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินมากหากมีการจัดการดินไมเหมาะสม





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112