Page 110 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 110

3-76





                  บางพื้นที่มีการปรับพื้นที่เพื่อทำนา แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 36 36I 36M3 36I

                  36IM3 36B 36BI 36BIM3 36b,B และ36b,BI มีเนื้อที่ 525,142 ไร หรือรอยละ 6.28 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (9) กลุมชุดดินที่มีเนื้อเปนดินรวนหยาบลึกมากที่เกิดจากการทับถมของตะกอนลำน้ำพบบน

                  สันดินริมน้ำ หรือที่ราบตะกอนน้ำพา มีลักษณะการทับถมเปนชั้นๆ ของตะกอนลำน้ำในแตละชวงเวลา
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เปนดินลึกมาก
                  มีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงดี ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง
                  ประมาณ 5.0-7.0 คาความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ำถึงคอนขางสูง และคาอิ่มตัวเบสคอนขางต่ำถึงปานกลาง
                  คาการนำไฟฟาของดินต่ำ ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง บางพื้นที่พบในพื้นที่ราบต่ำ

                  มีน้ำทวมขังจากการไหลบาของน้ำในฤดูฝน การใชประโยชนที่ดินในปจจุบันปลูกพืชไร ไมยืนตน
                  และไมผลตาง ๆ บางพื้นที่มีการปรับพื้นที่เพื่อทำนา แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือ หนวยที่ดินที่ 38 38M3
                  38I 38IM3 และ38fl มีเนื้อที่ 59,174 ไร หรือรอยละ 0.70 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (10) กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหยาบลึกถึงลึกมาก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินตน
                  กำเนิดชนิดตาง ๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ
                  ทั้งหินอัคนี หรือหินตะกอน หรือมาจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนลำน้ำ บริเวณพื้นที่ดอน
                  ที่มีพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนกลุมดินลึก ที่มีการระบายน้ำดี

                  เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย สีดินเปนสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 ปญหาสำคัญ
                  ในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีความอุดมสมบูรณต่ำและมีปญหาเกี่ยวกับ
                  การชะลางพังทะลายของหนาดินโดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูง ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูก

                  ไมยืนตน และไมผล แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ คือหนวยที่ดินที่ 39 39M3 39I 39gm 39B 39BM3 39C
                  และ39D มีเนื้อที่ 232,086 ไร หรือรอยละ 2.77 ของพื้นที่ลุมน้ำ
                          (11) กลุมชุดดิน มีเนื้อดินเปนพวกดินรวนปนทราย ดินสีน้ำตาลออน สีเหลืองหรือแดง
                  บางแหงอาจพบจุดประสีในดินชั้นลาง เกิดจากวัตถุตนกำเนิดพวกตะกอนลำน้ำหรือจากการสลายตัวผุพัง

                  ของหินเนื้อหยาบ สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน เปนดินลึก มีการระบายน้ำดี
                  ระดับน้ำใตดินอยูลึกกวา 1 เมตรตลอดป คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.0 คาความ
                  ประจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ำปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่ดางเปนต่ำ คาการนำ

                  ไฟฟาของดินต่ำ มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกพืชไรตาง ๆ เชน
                  มันสำปะหลัง ออย ปอ ขาวโพดและถั่ว บางแหงมีสภาพเปนปาละเมาะ หรือทุงหญาธรรมชาติ
                  มีการสูญเสียหนาดิน แบงเปนหนวยที่ดินตาง ๆ บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทำนา (M3) คือ หนวยที่ดินที่
                  40 40M3 40I 40IM3 40pan,B 40pan,BI 40B 40BM3 40BI 40b,B 40C 40CI และ40D มีเนื้อที่
                  366,525 ไร หรือรอยละ 4.39 ของพื้นที่ลุมน้ำ

                          (12) กลุมชุดดินที่เปนดินทรายที่มีชั้นดานอินทรียภายในความลึก 100 เซนติเมตร
                  เปนกลุมดินที่พบบริเวณหาดทรายเกาหรือสันทรายชายทะเลเกิดจากการตะกอนทรายชายทะเล
                  บนพื้นที่ดอนที่มีลักษณะพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดีปานกลาง

                  เนื้อดินเปนทรายจัด สีดินบนเปนสีเทาแก ใตลงไปเปนชั้นทรายสีขาว ดินลางเปนชั้นสะสมของพวก
                  อินทรียวัตถุ เหล็กหรือฮิวมัส สีน้ำตาล สีแดง ชั้นเหลานี้มีการอัดตัวแนนเปนชั้นดาน มีความอุดมสมบูรณ





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115