Page 19 - Mae Klong Basin
P. 19

2-5





                        2.1.7 กลุมคนที่เกี่ยวของในการวางแผน มีกลุมคน 3 กลุม ที่เกี่ยวของในการวางแผน ไดแก

                            1) ผูใชที่ดิน มีกลุมคนหลายกลุมที่ใชที่ดินและอาศัยอยูบนที่ดินที่มีการวางแผน ไมใชเฉพาะ
                  กลุมเกษตรกรกลุมคนเลี้ยงสัตว องคกรของรัฐ และกลุมชนดานอื่น ๆ ที่ใชประโยชนจากที่ดินโดยตรง
                  แตยังรวมถึงกลุมชนซึ่งอาศัยผลผลิตบนพื้นดินผืนนั้นดวย กลุมชนตาง ๆ เหลานี้มีความตองการในการใช

                  ทรัพยากรแตกตางกัน และมีสวนรวมในการตัดสินใจในการวางแผนการใชที่ดินดวยผูใชประโยชนจากที่ดิน
                  จะเปนผูจัดเตรียมแรงงาน เงินทุน และการจัดการ เปนผูผลิตสินคา หรือเปนผูใชสินคานั้น ๆ ดวย
                            2) ผูมีหนาที่ตัดสินใจ ผูมีหนาที่ตัดสินใจการใชที่ดินอาจจะเปนบุคคลเพียงคนเดียว เชน
                  หัวหนาหมูบาน กำนัน หรือรัฐมนตรี เปนตน หรืออาจจะเปนคณะกรรมการกลุมหนึ่งก็ได ผูมีหนาที่

                  ตัดสินใจมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับแผนทั้งหมด และมีหนาที่ทำใหแผนบังเกิดผลสำเร็จ นอกจากนี้ยัง
                  เปนผูแนะนำหรือชี้แนะแนวทางใหกับกลุมนักวางแผนเกี่ยวกับเปาหมายของการวางแผน และเปน
                  ผูเลือกประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ดีที่สุด จากทางเลือกที่เปนไปไดที่กลุมนักวางแผนเสนอมา
                            3) กลุมนักวางแผน กลุมนักวางแผนประกอบดวย นักวิชาการจากหลายสาขา เชน นักวิชาการ

                  เกษตร วิศวกร นักสำรวจดิน นักเศรษฐศาสตร และเจาหนาที่สิ่งแวดลอม เปนตน นักวิชาการสาขาตาง ๆ
                  เหลานี้จะตองทำงานรวมกันเปนทีม ในกลุมของนักวางแผนอาจประกอบดวยนักวางแผนหนึ่งคน
                  และผูมีความชำนาญสาขาอื่น ๆ อีก 1-2 คน ก็ได การทำงานเปนกลุมตองอาศัยการประสานงานและ
                  ความรวมมืออยางดียิ่ง นอกจากนี้อาจจะมีเจาหนาที่จากหนวยงานตาง ๆ ของรัฐ หรืออาจารย

                  มหาวิทยาลัยเปนที่ปรึกษาของกลุมนักวางแผนก็ได
                        2.1.8 หลักการของการวางแผน
                        หลักของการวางแผนการใชประโยชนที่ดินตอไปนี้ เปนหลักการที่ใชกับการพัฒนาชนบทที่
                  เกี่ยวของกับการกสิกรรม ปาไม ทุงหญาเลี้ยงสัตว การประมง และการจัดการลุมน้ำ ทั้งในระดับทองถิ่น

                  ถึงระดับประเทศ สวนแผนการใชที่ดินเพื่อชุมชน อุตสาหกรรม ดานสังคม หรือการพัฒนาสิ่งอำนวย
                  ความสะดวก หลักการขางลางนี้ไมเกี่ยวของโดยตรงมากนัก แตก็อาจจะนำเอาไปใชเปนประโยชนไดบาง
                            1) การวางแผนการใชที่ดินคือเรื่องของเหตุและผล กรรมวิธีการวางแผนจะเปนขั้นตอน
                  ตามลำดับแหงเหตุผลและขอเท็จจริง ซึ่งจะเริ่มตนจากการวิเคราะหประเด็นปญหาการใชที่ดิน

                  การรวบรวมเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการวางแผนเพื่อแกไขปญหา
                            2) การวางแผนการใชที่ดินเปนกรรมวิธีที่ยืดหยุนได แนใจไดเลยวา ไมมีคำตอบที่
                  สมบรูณมนการแกไขปญหาการใชที่ดิน ควรมีทางเลือกหลายๆ ทางใหผูใชที่ดินไดมีโอกาสเลือก

                  การเลือกทางเลือกของแผนที่ดีที่สุดขึ้นอยูกับโอกาส หรือ เหตุการณในขณะนั้น แตแนใจไดเลยวาเปนการยาก
                  ที่จะใหทุกคนพอใจ ถาแผนที่ออกมามีความถูกตองนอยมาก หรือผูใชที่ดินยอมรับนอยมาก เราก็สามารถ
                  ที่จะทบทวนแผนใหมได
                            3) การวางแผนการใชที่ดินตองทำงานเปนกลุมหรือเปนทีม การวางแผนการใชที่ดินตอง
                  ทำงานรวมกันระหวางวิชาการหลาย ๆ สาขา เชน นักวิชาการเกษตรนักสำรวจดิน นักวิชาการปาไม

                  นักวิชาการประมง เศรษฐกร นักวิชาการ ดานสิ่งแวดลอม เปนตน ขนาดของกลุมอาจประกอบดวยนักวางแผน
                  1 คน และนักวิชาการเกษตรสาขาอีก 1 -2 คน เปนอยางนอย ขนาดของกลุมขึ้นอยูกับขนาดพื้นที่
                  ความซับซอนของทรัพยากรและปญหา ลักษณะการทำงานจะตองทำไปพรอม ๆ กัน ไมใชตางฝายตางทำ

                  จะตองอาศัยการประสานงานและความรวมมืออยางดียิ่ง ไมเชนนั้นแผนที่วางไวอาจไมบรรลุเปาหมาย





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24