Page 15 - Mae Klong Basin
P. 15

บทที่ 2

                                                   ทฤษฏีที่เกี่ยวของ



                        ปรับปรุงกระบวนการแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ำสาขาโดยใชแบบจำลองภูมิสารสนเทศและ
                  การจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนแบบจำลอง : กรณีศึกษาลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง (14) และลุมน้ำ
                  สาขาหวยขาแขง (1406) ลุมน้ำสาขาหวยตะเพิน (1408) ลุมน้ำสาขาที่ราบแมน้ำแมกลอง (1417)
                  กำหนดหลักการทั่วไปในการวางแผนการใชที่ดิน ไดดำเนินการศึกษา ประกอบดวย


                  2.1  หลักการวางแผนการใชที่ดิน

                        2.1.1 นิยามและความหมายการวางแผน
                            1) ความหมายของการวางแผนการใชที่ดิน
                              การวางแผนการใชที่ดิน (Land Used Planning) หมายถึง การกำหนดขอบเขตที่ดิน

                  ในการนำมาใชประโยชนใหเปนไปตามสมรรถนะ ความเหมาะสมและศักยภาพของที่ดิน
                  รวมทั้งใหสอดคลองความเปนไปไดทางเศรษฐกิจ และความตองการทางสังคม แตตองคำนึงถึง
                  ผลตอบแทนจากการใชที่ดินอยางยั่งยืนและตอเนื่อง (นิพนธ, 2540) เปนกระบวนการดำเนินงานที่
                  มุงแนะนำและแสดง ใหเห็นถึงวัตถุประสงคหรือเปาหมายของรัฐในการใชประโยชนจากทรัพยากรที่ดิน
                  และทรัพยากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของโดยการดำเนินงานจะตองมีการพิจารณาตอเนื่องกันไปถึงเปาหมายที่ตั้งไว

                  (สมเจตน, 2526; 2522) และเปนการคาดคะเนการใชที่ดินตามศักยของทรัพยากรดิน โดยมีพื้นฐาน
                  จากการเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางความตองการของผูใชที่ดินกับการตอบสนองของทรัพยากร
                  และสิ่งแวดลอม เพื่อจัดใหมีผลตอบแทนสูงสุดขณะเดียวกันก็เปนการรักษาทรัพยากรเหลานั้นไวใชใน

                  อนาคตไดดวย (วันชัย และคณะ, 2530) คำตอบที่สั้นและไดใจความมากที่สุดก็คือ การใชทรัพยากรที่มี
                  อยูอยางจำกัดใหเกิดประโยชนมากที่สุด แตถาจะตีความออกไปใหยาวขึ้น แผนการใชที่ดินหมายถึง
                  การกำหนดขอบเขตบริเวณที่ดิน ตามความแตกตางของลำดับขั้นแหงการใชประโยชนที่ดินนั้น ๆ
                  โดยพิจารณาจากชนิดของการใชที่ดินทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู สภาพเศรษฐกิจและสังคม นโยบายของรัฐ ฯลฯ
                  ทั้งนี้ตองเอื้ออำนวยตอการพัฒนาและการอนุรักษ ภายใตสภาวะแวดลอมหรือสถานการณในระยะเวลา

                  ใดเวลาหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนไปอยางประหยัด บังเกิดประโยชน
                  ตอหนวยพื้นที่สูงสุดเทาที่เปนไปได และสามารถอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูสำหรับประโยชนใน
                  อนาคตดวย

                              การวางแผนการใชที่ดิน เปนการใชความรูทางดานวิชาการหลายสาขามาวิเคราะห
                  พฤติการที่เกี่ยวกับการใชประโยชนที่ดินในอดีต ปญหาในปจจุบัน เพื่อกำหนดแนวทางการคาดคะเน
                  ความนาจะเปนไปไดของการดำเนินกิจกรรมตาง ๆ เกี่ยวกับการใชที่ดินในอนาคต โดยพยายามลด
                  ความผิดพลาดตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นตอการใชทรัพยากรธรรมชาติ อันมีผลตอสถานการณตาง ๆ ที่จะเปน

                  ประโยชนตอสวนรวม (FAO, 1993)
                              การวางแผนการใชที่ดินสำหรับวันขางหนาไมใชเปนการเขียนแบบฝกหัดบนกระดาษเปลา ๆ
                  การวางแผนจะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่จำเพาะเจาะจง ซึ่งอาจถูกกำหนดขึ้นโดยความตองการ
                  ของสังคมหรือนโยบายที่เลี่ยงไมได การวางแผนการใชที่ดินจะตองวางใหเหมาะกับสถานการณในปจจุบัน






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20