Page 11 - Mae Klong Basin
P. 11

บทที่ 1

                                                         บทนำ



                  1.1  หลักการและเหตุผล

                       กรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานที่กอตั้งขึ้นมาตั้งแตป 2506  มีพันธกิจหลักในดาน การกำหนด
                  นโยบายและวางแผนการใชที่ดิน ในพื้นที่เกษตรกรรม การสำรวจและจำแนกดิน การกำหนดบริเวณการ

                  ใชที่ดิน การควบคุมการใชที่ดินบริเวณที่มีการใชหรือทำใหเกิดการปนเปอนของสารเคมี หรือวัตถุ
                  อื่นใด การอนุรักษดินและน้ำ การปรับปรุงบำรุงดิน การผลิตแผนที่และทำสำมะโนที่ดิน
                  การใหบริการและถายทอดเทคโนโลยีดานการพัฒนาที่ดิน ขอมูลดินและการใชประโยชนที่ดิน

                  เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและใหมีการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน ภายใตหนวยงานของกรม
                  พัฒนาที่ดิน กองนโยบายและแผนการใชที่ดินเปนหนวยงานที่จัดทำงานดานการวางแผนการใชที่ดินระดับ

                  ลุมน้ำสาขามาอยางตอเนื่องจากอดีตที่มีกระบวนการวิเคราะหดวยการซอนทับขอมูลดวยแผนที่ไดพัฒนา
                  โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตรมาใชเปนเครื่องมือในการพัฒนากระบวนการวิเคราะหในปจจุบัน
                        กระบวนการวางแผนการใชที่ดินฐานขอมูลที่ใชในการนำเขาเพื่อวิเคราะหขอมูล ถือเปนขอมูล

                  หลักที่มีความสำคัญ และจำเปนตองมีความถูกตองในระดับที่ยอมรับได ประกอบกับปจจุบันระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตรถูกนำมาใชอยางกวางขวาง การจัดการฐานขอมูลเพื่อใชในการวิเคราะหจึงจำเปน
                  เพื่อใหผูที่นำไปใชสามารถเขาใจและเขาถึงความหมายของแตละชั้นของฐานขอมูล อีกทั้งการจัดทำ

                  ฐานขอมูลยังสามารถชวยแกไขปญหาที่เกิดจากระบบของแฟมขอมูล เชน ลดความซ้ำซอนของขอมูล
                  ขอมูลถูกจัดอยางเปนระบบทำใหเกิดประสิทธิภาพในการประมวลผล
                        นอกจากฐานขอมูลที่มีความสำคัญแลวแบบจำลองถือเปนตัวแบบที่ชวยในการนำเสนอขอมูลตาง ๆ
                  ของระบบ เพื่อสามารถนำขอมูลเหลานั้นไปใชวิเคราะหเพื่อหาคำตอบหรือจำลองใหเห็นภาพของขอมูล
                  หลักการ แนวคิดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การจัดการฐานขอมูลเชิงพื้นที่ ระบบซอฟทแวรและ

                  ฮารดแวร โครงสรางฐานขอมูลและฐานขอมูลลักษณะสัมพันธ ฟงกชั่นตางๆ ของระบบ การนำเขา
                  การแกไขและการแปลงขอมูล การวิเคราะหและการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ทั้งนี้ผลของ
                  แบบจำลองสามารถใชคาดการณไดโดยลดความกดดันดานเวลา สามารถชวยตัดสินใจและแกไขปญหาได

                  อยางถูกตอง แมนยำ เนื่องจากสามารถใชตัวแปรไดหลายชนิด ทำใหไดผลการวิเคราะหที่มีประสิทธิภาพ
                  และสามารถกำหนดทิศทางในการแกปญหาไดอยางแมนยำ
                        ปจจุบันเทคโนโลยีดานสารสนเทศภูมิศาสตรไดถูกนำเขามาใชเปนเครื่องมือในกระบวนการผลิต
                  ฐานขอมูลสำคัญที่นำมาใชในกระบวนการการวางแผนการใชที่ดิน ซึ่งฐานขอมูลดังกลาวมีความ

                  ละเอียดและเปนปจจุบันมากขึ้น ดังนั้นการวิเคราะหแผนการใชที่ดินโดยพัฒนานำแบบจำลองมาใชสามารถ
                  ชวยพัฒนากระบวนการวางแผนการใชที่ดินใหมีความรวดเร็ว เปนทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลง
                  อีกทั้งการจัดทำฐานขอมูลสามารถพัฒนาการจัดเก็บขอมูลไมใหซ้ำซอน สรางความเขาใจใหกับผูที่นำ
                  ขอมูลแผนการใชที่ดินไปใชไดอยางถูกตอง ภายใตแผนการใชที่ดินที่สามารถวิเคราะหไดอยางถูกตอง

                  แมนยำ และเปนมาตรฐาน  เพื่อใหการดำเนินการวิเคราะหกระบวนการวางแผนการใชที่ดินโดยใช
                  แบบจำลองภูมิสารสนเทศและการออกแบบและจัดทำฐานขอมูลเพื่อสนับสนุนแบบจำลอง สามารถ





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมกลอง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16