Page 223 - Phetchaburi
P. 223

5-29





                  ในแหลงน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใตดินได การสงเสริมการใชระบบน้ำหยดในการเพาะปลูก

                  (Microirrigation/drip) ชวยลดการสูญเสียน้ำ การปศุสัตว (Livestock) การเลี้ยงสัตว เชน สัตวเล็มหญานั้น
                  หากมีการจัดการไมดี อาจสงผลใหเกิดการปนเปอนของมูลสัตวสูแหลงน้ำได อาจเปนสาเหตุทำใหเกิด
                  การแพรขยายของเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอรม (Coli form bacteria) ในแหลงน้ำผิวดิน ดังนั้นควรมีการจัดการ

                  มูลสัตวใหเหมาะสมโดยการสรางบอกักเก็บ และการประยุกตใชผลิตกาซชีวภาพหรือทำเปนปุยไดดวย
                                        (3) การเลือกพืชปลูกใชน้ำนอย ซึ่งการปลูกพืชจำพวกสมุนไพร หรือ
                  หญาชวยรักษาความชื้นในดินมากกวาไมยืนตนขนาดใหญ เนื่องจากพืชสมุนไพรมีอัตราการคายน้ำต่ำ
                  กวาซึ่งสามารถลดอัตราการใชน้ำได ดังนี้ ในพื้นที่ทางการเกษตร การปลูกพืชคลุมดินกลุมนี้สามารถลด

                  การกรอนของดินแลวยังรักษาความชื้นในดินดวย ซึ่งจะเปนการประหยัดน้ำในการเพาะปลูกไดอีก
                  แนวทางหนึ่ง เปนตน
                                        (4) แหลงน้ำจากอุตสาหกรรม น้ำเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial
                  water waste) โรงงานตองวางแผนการใชน้ำอยางคุมคา ลดการปลอยน้ำเสียโดยการทำบำบัดน้ำกอน

                  ปลอยออกสูสิ่งแวดลอม ซึ่งแมวาการสรางโรงบำบัดน้ำจะมีคาใชจายสูง แตเปนการอนุรักษสิ่งแวดลอมไดดี
                                        (5) การรักษาแหลงน้ำจากกิจกรรมชุมชน น้ำเสียจากชุมชน
                  (Municipal water waste) การลดการปลอยน้ำเสียจากชุมชนหรือครัวเรือนลงสูแหลงน้ำธรรมชาติโดย
                  การสรางบอกักเก็บอยางถูกวิธี ทำการติดตั้งสุขภัณฑและระบบประหยัดน้ำ ปรับปรุงนิสัยการบริโภค

                  เทาที่เหมาะสมและจำเปนเพื่อลดของเสีย การลดการใชน้ำเปนการชวยประหยัดเงินไปในตัวดวย
                  อยางไรก็ตาม น้ำเสียจากชุมชนนั้นสามารถทำการบำบัดได
                                        (6) การพัฒนาเมือง (Urban development) การกอสรางอาคาร
                  และการตัดถนนเปนปญหาใหญตอแหลงน้ำและพื้นที่ลุมน้ำมาก การขยายตัวของเมืองทำใหลุกล้ำเขาไป

                  ในพื้นที่ลุมน้ำ สงผลตอการซึมผานของน้ำ และเกิดปญหาตอทั้งปริมาณและคุณภาพของน้ำบาดาล
                  การสรางถนนตัดขวางทางน้ำธรรมชาติ เชน ถนนวงแหวนรอบเมืองหากมีการวางแผนไมดี อาจเกิดน้ำทวม
                  ไดงายซึ่งสามารถแกไดที่ตัวตนเหตุ ซึ่งก็คือมนุษย ดังนี้
                                          - ไมทิ้งเศษขยะมูลฝอย สิ่งสกปรกโสโครก ลงไปในแมน้ำลำคลอง

                                          - ควรมีมาตรการหามไมใหโรงงานอุตสาหกรรมทิ้งน้ำเสียลงในแมน้ำ
                                          - ประชาชนทุกชุมชน องคกรภาครัฐและเอกชน ควรชวยกันรักษา
                  ตนน้ำลำธาร

                                    2) การนำน้ำกลับมาใชใหม ซึ่งควรมีการแยกทอน้ำฝน น้ำเสีย และทอน้ำ
                  นำกลับมาใชใหม ซึ่งเปนหนึ่งในวิธีการใชน้ำอยางประหยัดและคุมคา นอกเหนือจากการนำน้ำฝน
                  “Rain Water” มาใช เพียงรองน้ำฝนจากรางน้ำที่หลังคาใหไหลผานทอมายังถังเก็บน้ำ ผานการกรอง
                  เพื่อคัดแยกสิ่งปนเปอน เอาสารแขวนลอยออก และลดปริมาณแบคทีเรียในน้ำ แลวจึงนำมาผานการบำบัด
                  ดวยแสงอัลตราไวโอเลต ก็จะไดน้ำที่สะอาดพอสำหรับนำมาซักผา รดน้ำตนไม หรือลางรถได และมีน้ำใชแลว

                  “Grey Water” ซึ่งเปนน้ำจากอางลางมือ น้ำจากการอาบน้ำ (ไมรวมน้ำโสโครก “Black Water”
                  โดยนำมากรองและฆาเชื้อเพื่อใหมั่นใจวาน้ำสะอาดพอและจะไมมีเชื้อโรคเจือปน เริ่มจากการกรองเพื่อ
                  แยกเอาอนุภาคหรือสารอาหารของแบคทีเรียที่ปนเปอนออกกอนเขาสูถังเก็บ จากนั้น ฆาเชื้อซึ่งวิธีที่นิยม

                  ใชคือการใชสารฆาเชื้อชนิดที่มีคลอรีนหรือโบรมีนเปนสวนประกอบ แตน้ำที่ผานการบำบัดแลว
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228