Page 220 - Phetchaburi
P. 220

5-26





                  แหลงกำเนิดหรือแหลงผลิตของสินคา เชน สัญลักษณประจำอำเภอ หรือจังหวัดเชน รูปยาโม รูปหอไอเฟล

                  เปนตน โอกาสการผลิตสินคา GI สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) พบวา
                  ปจจุบันสินคาที่ไดขึ้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรหรือสินคาจีไอ (GI) กำลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น
                  ทั้งตลาดภายในและตางประเทศเนื่องจากผูบริโภคใหความสนใจในแหลงที่มาของสินคา รวมถึงเรื่องราว

                  ประวัติความเปนมาของสินคา โดยเฉพาะตลาดสหภาพยุโรป (EU) มีความตองการสินคา GI คอนขางสูง
                  และมีแนวโนมสดใส
                                  6) สงเสริมใหเกษตรกร ทำเกษตรอินทรียใหไดใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย
                  เกษตรอินทรีย (Organic Agriculture) คือ ระบบการจัดการดานการเกษตรแบบองครวม ที่เกื้อหนุนตอ

                  ระบบนิเวศ วงจรชีวภาพ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเนนการใชวัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยง
                  วัตถุดิบที่ไดจากการสังเคราะห และไมใชพืช สัตว หรือจุลินทรียที่ไดมาจากการดัดแปรพันธุกรรม
                  (Genetic Modification) หรือ พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มีการจัดการกับผลิตภัณฑ
                  โดยเนนการแปรรูปดวยความระมัดระวัง เพื่อรักษาสภาพการเปนเกษตรอินทรีย และคุณภาพที่สำคัญ

                  ของผลิตภัณฑในทุกขั้นตอน กระบวนการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียของแตละหนวยตรวจ
                  รับรองเกษตรอินทรียอาจแตกตางกันออกไป ซึ่งหนวยตรวจรับรองจะมีเอกสารชี้แจงรายละเอียดขั้นตอน
                  ตรวจรับรองของตัวเองใหผูสนใจไดรับทราบ ซึ่งผูผลิต-ผูประกอบการควรทำการศึกษาขั้นตอนเหลานี้
                  อยางละเอียดกอนตัดสินใจสมัคร นอกจากนี้ ผูผลิต-ผูประกอบการควรศึกษาเปรียบเทียบหนวยตรวจ

                  รับรอง 2-3 แหง เพื่อพิจารณาดูรายละเอียดของขอกำหนดมาตรฐาน คาใชจาย ความรวดเร็ว คุณภาพ
                  ของการใหบริการ ตลอดจนความนาเชื่อถือของหนวยงานและการยอมรับผลการตรวจรับรองของ
                  หนวยงานนั้นโดยผูซื้อหรือหนวยงานที่กำกับดูแลการนำเขาสินคาเกษตรอินทรียในตางประเทศ
                  (ในกรณีสงออก) เพื่อใชประกอบในการตัดสินใจเลือกหนวยตรวจรับรอง

                                  7) นโยบายลดพื้นที่เพาะปลูกในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม โดยรัฐตองมีนโยบาย
                  ที่ชัดเจนและตอเนื่อง รวมทั้งมีนโยบายชวยเหลือและสงเสริมเพื่อจูงใจใหเกษตรกรเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น
                  ที่ใหผลตอบแทนที่คุมคากวาพืชเดิม
                                  8) สงเสริมสนับสนุนใหมีการใหมีการแปรรูปสินคา และเพิ่มมูลคาของ

                  สินคาเกษตร หรือเขารวมโอทอป (OTOP: One Tambon One Product) “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ”
                  เปนแนวทางประการหนึ่ง ที่จะสรางความเจริญแกชุมชนใหสามารถยกระดับฐานะความเปนอยูของคน
                  ในชุมชนใหดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น ใหกลายเปนสินคาที่มีคุณภาพ

                  มีจุดเดนเปนเอกลักษณของตนเองที่ สอดคลองกับวัฒนธรรมในแตละทองถิ่น สามารถจำหนายในตลาด
                  ทั้งภายในและตางประเทศ โดยมีหลักการ พื้นฐาน 3 ประการ คือ (1) ภูมิปญญาทองถิ่นสูสากล (Local
                  Yet Global) (2) พึ่งตนเองและคิดอยางสรางสรรค (Self-Reliance-Creativity) และ (3) การสราง
                  ทรัพยากรมนุษย (Human Resource Development) การพัฒนาเพื่อการสงออกผลิตภัณฑ OTOP
                  นับเปนกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศอีกทางหนึ่งที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนา

                  ขีดความสามารถในการแขงขันของไทยในตลาดโลก ดวยการอาศัยการพึ่งพาเศรษฐกิจในประเทศ
                  และตางประเทศควบคูกันดวย (กรมการพัฒนาชุมชน, 2544)
                                  9) สงเสริมใหมีตลาดกลางทุกตำบลหรือทุกอำเภอ เพื่อรวบรวมสินคาเกษตร

                  โดยไมตองผานพอคาคนกลาง และสงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมอยางเปนทางการ เพื่อศูนยแลกเปลี่ยน
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225