Page 219 - Phetchaburi
P. 219

5-25





                  เต็ง รัง พะยอม ตะเทียนทอง ตะเทียนหิน ตะเทียนชันตาแมว ไมสกุลยาง สะเดา สะเดาเทียน ตะกู ยมหิน

                  ยมหอม นางพญาเสือโครง นนทรี สัตบรรณ ตีนเปดทะเล พฤกษ ปบ ตะแบกนา เสลา อินทนิลน้ำ
                  ตะแบกเลือด นากบุด ไมสกุลจำป แคนา กัลปพฤกษ ราชพฤกษ สุพรรณิการ เหลืองปรีดียาธร มะหาด
                  มะขามปอม หวา จามจุรี พลับพลา กันเกรา กะทังใบใหญ หลุมพอ กฤษณา ไมหอม เทพทาโร ฝาง

                  ไผทุกชนิด ไมสกุลมะมวง ไมสกุลทุเรียน และมะขาม (สำนักสงเสริมการปลูกปา, 2562)
                            5.2.2.2  พื้นที่เกษตรกรรม การใชและอนุรักษพื้นที่เกษตร ที่เกษตรกรใชผลิตพืชผล
                  และใหเกษตรกรมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน และอนุรักษ
                  ความหลากหลายทางชีวภาพ พืชสมุนไพร ระบบนิเวศดินใหสมบูรณ ดังนี้

                                  1) ปรับปรุงทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร โดยการเพิ่มการใชปุยอินทรีย เชน
                  ปุยพืชสด ปุยหมัก ปุยคอก และน้ำหมักชีวภาพ เปนตน รวมกับการใชปุยเคมีอยางมีประสิทธิภาพ
                  และสงเสริมการทำปุยอินทรียและน้ำหมักชีวภาพ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553ก)
                                  2) สงเสริมใหมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ

                  ของดิน เชน การไมเผาตอซัง การปลูกหญาแฝก และทำแนวคันดิน ในการชะลอเก็บกักน้ำโดยเฉพาะ
                  ในพื้นที่มีความลาดชันสูง (กรมพัฒนาที่ดิน)
                                  3) สรางแหลงน้ำในไรนานอกเขตชลประทานใหมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยง
                  ในชวงเวลาฝนทิ้งชวงและใชชวยระบายน้ำเปนแกมลิงในชวงเวลาฝนตกหนัก รวมทั้งขุดลอกแหลงน้ำ

                  สาธารณะ เพื่อเตรียมเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลง
                                  4) ใหความรูแกเกษตรกรในการใชน้ำเพื่อการเกษตรใหเกิดประโยชน
                  สูงสุดและมีการวางแผนการเพาะปลูกพืชใหสอดคลองกับน้ำตนทุน
                                  5) เกษตรกรควรรวมกลุมกันพัฒนาสินคาเกษตรใหไดใบรับรองสิ่งบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) เพื่อมูลคาสินคาเกษตร สินคาที่ใชสิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตรมักจะเปนสินคาที่มีชื่อเสียงและไดรับความนิยม เนื่องจากมีคุณสมบัติพิเศษหรือมีลักษณะ
                  เฉพาะที่เกิดจากอิทธิพลสิ่งแวดลอมทางภูมิศาสตร เชน สภาพแวดลอม ดิน ฟา อากาศ ของแหลง
                  ภูมิศาสตรนั้นๆ ตลอดจนทักษะความชำนาญและภูมิปญญาของกลุมชนที่อาศัยอยูในแหลงภูมิศาสตรนั้นๆ

                  ประกอบดวย สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรมีความแตกตางจากทรัพยสินทางปญญาประเภทอื่น กลาวคือ ผูเปน
                  เจาของไมใชบุคคลหนึ่งบุคคลใดแตเปนกลุมชุมชนที่เปนผูผลิตหรือผูประกอบการในพื้นที่ทางภูมิศาสตรนั้นๆ
                  ซึ่งจะสงผลใหผูผลิตที่อาศัยอยูในสถานที่หรือแหลงภูมิศาสตร และผูประกอบการเกี่ยวกับสินคาที่ใช

                  สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนั้นเทานั้น ที่มีสิทธิผลิตสินคาดังกลาวโดยใชชื่อทางภูมิศาสตรนั้นได ผูผลิตคนอื่น
                  ที่อยูนอกแหลงภูมิศาสตรจะไมสามารถผลิต สินคาโดยใชชื่อแหลงภูมิศาสตรเดียวกันมาแขงขันได
                  สิทธิในลักษณะดังกลาวนี้นักวิชาการบางทานเรียกวา “สิทธิชุมชน” ซึ่งไมสามารถนำสิทธิที่ไดรับไป
                  อนุญาตใหบุคคลอื่นใชตอได ผูที่อยูในพื้นที่แหลงภูมิศาสตรเทานั้นที่มีสิทธิใช สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนี้
                  อาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2559)

                                    (1) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยตรง (Direct Geographical Indication)
                  กลาวคือ เปนชื่อทางภูมิศาสตรที่เกี่ยวของกับสินคานั้นๆโดยตรง เชน ไชยา เพชรบูรณ เปนตน
                                    (2) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยออม (Indirect Geographical Indication)

                  กลาวคือ เปนสัญลักษณ หรือสิ่งอื่นใดที่ไมใชชื่อทางภูมิศาสตร ซึ่งใชเพื่อบงบอกแหลงภูมิศาสตรอันเปน
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224