Page 218 - Phetchaburi
P. 218

5-24





                  การคุมครองอุตสาหกรรม นานาชาติที่ใชทรัพยากรที่มีชีวิตเปนวัตถุดิบ (ค) เพื่อเปนหลักประกันใน

                  การใชพันธุพืชสัตวและระบบนิเวศเพื่อประโยชนในการยังชีพตามความเหมาะสม และ (ง) เพื่อสงวนรักษา
                  โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปกรรม ซึ่งเปนมรดกล้ำคาไวไปยังอนุชนรุนหลังรวมทั้งระบบสิ่งแวดลอมอื่นๆ
                  ที่มนุษยสรางขึ้น การบำรุงรักษาปา ควรปฏิบัติ ดังนี้ (กรมปาไม, 2560)

                                    (1) ปองกันและปราบปรามการลักลอบตัดไมทำลายปา
                                    (2) หาแหลงทำมาหากินใหชาวเขาอยูเปนหลักแหลง เพื่อเปนการปองกัน
                  การทำไรเลื่อนลอย
                                    (3) สงเสริมการปลูกปาทดแทน

                                    (4) ปดปาไมอนุญาตใหมีการทำไม
                                    (5) ใชวัตถุอื่นทดแทนผลิตภัณฑที่ทำจากไม
                                    (6) ตั้งหนวยปองกันไฟปา
                                    (7) สงเสริมใหมีการเผยแพรความรูและความเขาใจแกประชาชน เพื่อให

                  เห็นความสำคัญของปาไม
                                  2) การเพิ่มกำลังการผลิตปาไมในแงเศรษฐกิจ
                                    ปาไมเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญอยางยิ่งตอสิ่งมีชีวิต ไมวา
                  จะเปนมนุษยหรือสัตวอื่นๆ เพราะปาไมมีประโยชนทั้งการเปนแหลงวัตถุดิบของปจจัยสี่ คือ อาหาร

                  เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค การเพิ่มกำลังการผลิต (productivity) ของปาไม โดยให
                  เกษตรกรผลิตพืช หรือสัตวเศรษฐกิจและตองอาศัยการบริการของระบบนิเวศ สามารถผลิตในรูป
                  เกษตรอินทรีย หรือวนเกษตร ที่มีผลตอบแทนคุณคาทางเศรษฐกิจสูงประกอบดวยการผลิตพืช เชน
                  กาแฟ โกโก การผลิตกลวยไมสกุลวานิลลา เพาะเห็ด พืชสุมนไพร การปศุสัตว เชนการเพาะพันธุสัตว

                  ปา การเลี้ยงชะมดกินกาแฟ นำมาทำผลิตภัณฑกาแฟขี้ชะมด การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เชน เพาะเลี้ยง
                  ปลาสเตอรเจียน เปนตน เพื่อสรางแรงจูงใจใหกับการดูแลและคุมครองสิ่งแวดลอม และเสถียรภาพ
                  การผลิตภาคปาไมในอนาคต
                                  3) พัฒนาสัตวปามาเลี้ยงเสริมรายไดปองการสูญพันธุ

                                    ทรัพยากรจากฐานชีวภาพในประเทศไทยมีความหลากหลายมาก
                  แตเกษตรกรไมสามารถนำมาใชใหเกิดประโยชนได รัฐควรสงเสริมและพัฒนาสัตวปามาเลี้ยง
                  เพื่อเสริมสรางเศรษฐกิจ จะทำใหเกิดการสรางอาชีพ สรางรายไดแลว ยังชวยใหสัตวปาในธรรมชาติไมสูญพันธุ

                  และการเพาะเลี้ยงสัตวปาในกรงเชิงพาณิชย ยังสงผลดีตอระบบนิเวศ เชนกวาง นกปากขอ และไกฟา เปนตน
                                  4) สงเสริมการปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจ
                                    รัฐบาลมุงสงเสริมและสนับสนุนการปลูกไมมีคา เพิ่มพื้นที่ปา 26 ลานไร
                  สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางไทยนิยม ยั่งยืน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
                  ฐานราก สงเสริมใหปลูกไมมีคาทางเศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์ หรือที่ดินที่ มีสิทธิ์ในการใชประโยชน

                  โดยชอบดวยกฎหมาย เปนกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชนใหดี
                  ขึ้น โดยขณะนี้มีการบูรณาการการทำงานระหวางหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จะกอใหเกิด
                  ชุมชนไมมีคาเพื่อเกษตรกร สำหรับไมทางเศรษฐกิจ มีทั้งหมด 58 ชนิด ประกอบดวย ไมสัก พะยูง

                  ชิงชัน กระซิก กระพี้เขาควาย สาธร แดง ประดูปา ประดูบาน มะคาโมง มะคาแต เคี่ยม เคี่ยมคะนอง
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223