Page 227 - Phetchaburi
P. 227

5-33





                                       5) ปาในเมืองจากกระแสเรื่องโลกรอนนั้น ปาไมจะมีบทบาทสำคัญอยางยิ่งใน

                  การแกปญหาโลกรอน และประชาชนโดยทั่วไปก็สามารถมีสวนรวมไดไมจำกัด โดยเฉพาะประชาชนที่
                  อาศัยอยูในเขตแนวปาหรือบริเวณใกลเคียง ประชาชนในเขตเมืองใหญ เชน กรุงเทพมหานครและ
                  ปริมณฑลก็สามารถมีสวนรวมในเรื่องการจัดการปาไมที่ยั่งยืนไดเชนกัน โดยผานการยอมรับลักษณะของ

                  ปาในเมือง (urban forest) ที่มีความหมายกวางกวาพื้นที่สีเขียว (green area) ปาในเมือง เปนองคประกอบ
                  ของการปาไมในเมือง (urban forestry) ที่วาดวยการจัดการตนไมในเมืองทั้งแบบมีการวางแผน
                  อยางเปนระบบ การบูรณาการศาสตรตางๆ ของการจัดการตนไมในเขตเมืองที่คำนึงถึงคุณลักษณะ
                  พื้นฐาน ปจจัยดานสังคม คุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยในเขตเมือง ผานการมีสวนรวมของ

                  ประชาชนที่อยูอาศัย
                            5.2.2.5  พื้นที่อุตสาหกรรม ปญหาภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วในชวงศตวรรษ
                  ที่ผานมา ทำใหหลายประเทศใหความสำคัญตอการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งกวา 90 เปอรเซ็นตมาจาก
                  กาซเรือนกระจก จากการใชพลังงานถานหินและฟอสซิล รวมทั้งการทำลายปาไมซึ่งเปนแหลงสราง

                  สมดุลตามธรรมชาติที่สำคัญที่สุด ควรพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม ดังนี้
                                         1) การสรางอุตสาหกรรมสีเขียวใหม (Creating the new Green Industry)
                  การสงเสริมและสรางเทคโนโลยีสีเขียว เชนแผงวงจรแสงอาทิตย กังหันพลังงานลม โรงแยกและกำจัดขยะ
                  การสงเสริมและสรางการผลิตเพื่อตอบสนองตอตลาดภายในและการคาระหวางประเทศ การสงเสริม

                  และสรางอุตสาหกรรมสีเขียวใหมรวมไปถึงการผลิตสินคา และบริการที่เกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมสีเขียว
                  อาทิ การใหคำปรึกษาดานการประหยัดหลังงานของภาคอุตสาหกรรม ฐานขอมูลสารเคมี ฯลฯ การพัฒนา
                  ไปสูอุตสาหกรรมสีเขียวนั้นตองอาศัยความมุงมั่นและตั้งใจอยางแทจริง ผูประกอบการตองมีความรู
                  ความเขาใจและทัศนคติที่ดี

                                         2) เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) การพัฒนา
                  ทางดานเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว สงผลใหฐานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมของ
                  ประเทศมีแนวโนมเสื่อมโทรม รุนแรง จากการเปลี่ยนแปลงทั้งในดานกายภาพ การใชประโยชน
                  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสงผลให สถานการณและแนวโนมความเสื่อมโทรมของ

                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะ น้ำทวม ภัยแลง การใชทรัพยากร
                  อยางสิ้นเปลือง ไมคุมคา และปริมาณของเสียที่เพิ่มขึ้น นําไปสูความเสี่ยงตอ การสูญเสียความหลากหลาย
                  ทางชีวภาพ รวมไปถึงการกัดเซาะชายฝงอยางตอเนื่อง ขณะที่ภัยพิบัติจะเกิดขึ้นบอยครั้ง กระทบตอ

                  ฐานการผลิตภาคเกษตร ความมั่นคงดานอาหาร พลังงาน สุขภาวะและคุณภาพชีวิตของประชาชน
                  ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจึงมีนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ เพื่อมุงสูการสรางสมดุลทั้ง
                  ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ภายใตกรอบแนวคิดของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
                  Development) โดยมีการปรับเปลี่ยนการผลิต จากที่เปนการใชทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานเปน
                  ฐานการผลิต ไปสูการผลิตที่เปนการใชวิทยาศาสตรเทคโนโลยี องคความรู นวัตกรรม และเปนมิตรกับ

                  สิ่งแวดลอม โดยนำแนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มาใชในการพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพ
                  ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม สิ่งแวดลอม และสังคมชุมชน
                  โดยสอดคลองกับ พันธกิจของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)

                  ขอ 4 คือ สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนับสนุนการมี สวนรวมของชุมชน
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232