Page 172 - Phetchaburi
P. 172

4-10





                  4.2  การวิเคราะหความตองการของพื้นที่

                        ความตองการของพื้นที่คิดแบบองครวมที่ครอบคลุมทุกมิติในดานเศรษฐกิจ สังคม
                  ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และความมั่นคง แตการวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัดเพชรบุรี
                  การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของจังหวัดเพชรบุรี และเนนประเด็นทรัพยากร

                  ที่เกี่ยวเนื่องกับการผลิตทางการเกษตร และระบบการผลิตเกิดจากความตองการของเกษตรกร
                  และปญหาที่พบในพื้นที่เปนสวนใหญ เพื่อกำหนดพื้นที่เปาหมายในการแกไขปญหาทรัพยากรดานการผลิต
                  อยางเปนระบบ (Area Base) (ตารางที่ 4-2)
                        ประเด็นที่ 1 การพัฒนาความมั่งคั่งดานเศรษฐกิจจากฐานการทองเที่ยว การคา การบริการ

                  และการเกษตรแบบครบวงจร โดยการที่มุงเนนในการสรางโอกาสและเพิ่มรายได พัฒนาระบบ
                  การเกษตรสูระบบมาตรฐานและปลอดภัย เพิ่มมูลคาในการผลิตใหมีคุณภาพโดยการพัฒนาศักยภาพ
                  องคกร/กลุมภาคการเกษตรและการจัดการสินคาเกษตรประกอบดวยกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรทำนา
                  จังหวัดเพชรบุรี การสรางเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนการปรับโครงสรางการผลิตสินคาเกษตร

                  (Zoning) ใหสอดคลองกับพื้นที่และความตองการของตลาด จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่สวนใหญเปนพื้นที่
                  การเกษตร 1,123,947 ไร พืชเศรษฐกิจหลัก ไดแก ขาว ออยโรงงาน มะพราว และสับปะรดโรงงาน
                  ที่ผานมาเกษตรกรยังประสบกับปญหาในการเพาะปลูก คือ มีตนทุนการผลิตที่สูง ผลผลิตมีคุณภาพต่ำ
                  และมีการใชเทคโนโลยีการผลิตไมคอยถูกตอง ทำใหเกษตรกรสวนใหญมีหนี้สินจากการทาการเกษตร

                  ดังนั้น จึงตองมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตของเกษตรกรใหสูงขึ้น ทั้งดานปริมาณผลผลิตตอไร
                  คุณภาพของผลผลิต และมีตนทุนการผลิตที่ลดลง และสินคาเกษตรเนื่องถึงผลิตภัณฑสินคาสุขอนามัย
                  มีคุณภาพและไดมาตรฐานเพื่อตอบสนองตอผูบริโภค โดยมีกระบวนการผลิตตางๆ เชนการผลิต
                  การเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) สินคาเกษตรและอาหารมีคุณภาพและความ ปลอดภัย (สินคา Q)

                  สินคาที่ปลอดภัยเกษตรอินทรียผลิตภัณฑชีวภาพและการแปรรูปที่ดี GMP มีจานวนนอยเนื่องจาก
                  ไมทราบวิธีการผลิตสินคาเกษตรที่มีคุณภาพปลอดภัยใหไดตามมาตรฐานดังกลาว สวนใหญผลผลิตที่
                  ออกสูตลาดเปนจำนวนมากไมมีคุณภาพ ตองรีบระบายผลผลิตภายในระยะเวลาจากัด และยังขาดแหลง
                  รับซื้อสินคาจังหวัดเพชรบุรีความตองการ (1) ยกระดับการคาการลงทุน การบริการของจังหวัดรองรับ

                  การเติบโตของเมือง การเปดประชาคมอาเซียนและ การขยายตัวของเมืองหลวงและปริมณฑล
                  (2) พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และสาธารณูปโภคของจังหวัด รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจและ
                  การพัฒนาเมือง (3) พัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่เขมแข็ง มีคุณภาพ มีเอกลักษณและแขงขันได

                  (4) พัฒนาการเกษตรแบบครบวงจรเชื่อมโยงอุตสาหกรรมการเกษตร และการเติบโตที่เปนมิตรกับ
                  สิ่งแวดลอม (5) พัฒนาสภาพแวดลอมเมืองรองรับการทองเที่ยว การเชื่อมโยงเมืองกับนานาชาติและ
                  การเติบโตสูประเทศที่ พัฒนาแลว และ (6) พัฒนาการบริการแหงรัฐรองรับการขับเคลื่อนโมเดล
                  เศรษฐกิจไทยแลนด 4.0 และรองรับสังคมดิจิทัล ตามนโยบายสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
                  ประเทศในรัฐบาลชุดปจจุบัน คือ โมเดลประเทศไทย 4.0 (Thailand Economic 4.0) ซึ่งเปนนโยบาย

                  พัฒนาเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิต เนนการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลคาสินคา
                  และบริการ เปนนโยบายที่วางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว ฐานคิดดังกลาวเปนการพัฒนาแบบ
                  “Value-added Economy” ที่เนนการสรางมูลคาเพิ่ม เนนเทคโนโลยี นวัตกรรม และเนนการบริการ

                  (มากกวาขายสินคา) เปาหมายหลักของรัฐอยูที่ 5 อุตสาหกรรม ที่ประเทศไทยมีองคความรูและศักยภาพ
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177