Page 169 - Phetchaburi
P. 169

4-7





                          แนวทางการพัฒนา

                          แนวทางการพัฒนาที่ 3.1 พัฒนาศักยภาพดานการบริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอม
                          แนวทางการพัฒนาที่ 3.2 ยกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

                          แนวทางการพัฒนาที่ 3.3 ปองกันการกัดเซาะชายฝง
                          เปาหมายการพัฒนากลุมจังหวัด
                          กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 มีตนทุนทางทรัพยากรการเกษตรและสัตวน้ำที่มีคุณภาพ
                  สงผลใหเกิดศักยภาพในดานการผลิตสินคาเกษตรแปรรูป เพื่อการสงออกรวมถึงการมีแหลงทองเที่ยว

                  ทางธรรมชาติที่สวยงาม และแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรสำคัญ รวมทั้งโครงการพระราชดำริ
                  อันเปนแหลงเรียนรูดานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงมุงเนนพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวเชื่อมโยงพื้นที่
                  กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 ซึ่งเปนประตูสูภาคใต และเปนศูนยกลางดานการขนสง โดยมีพื้นที่
                  เชื่อมโยงกับเขตเศรษฐกิจและการคาชายแดนกับกลุมประเทศอาเซียน บริเวณดานสิงขร จังหวัดประจวบคีรีขันธ

                  และมุงเนนฟนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ และแกไขปญหาสะสมทั้งดานสิ่งแวดลอม สอดคลองกับกรอบ
                  รางยุทธศาสตรชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายรัฐบาลไทยแลนด 4.0 ฯลฯ

                      4.1.8 แผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2561-2565) ฉบับทบทวน
                            เปาหมายการพัฒนาจังหวัดไปสูการเปน “เมืองเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ และเมืองนา
                  อยู นากิน นาเที่ยว ระดับประเทศ” ทั้งนี้ไดกำหนดนิยามของวิสัยทัศนในรอบ พ.ศ. 2561-2565 ดังนี้
                             เมืองเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ หมายถึง จังหวัดเพชรบุรีมีการเติบโตของรายไดจาก

                  การเพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การเกษตร การคาการลงทุน การบริการ เศรษฐกิจฐานราก
                  ในระดับชุมชนเติบโตอยางตอเนื่อง ประชาชนมีงาน อาชีพ รายไดโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
                  พอเพียงเปนฐาน มีตนแบบธุรกิจพอเพียงทั่วทั้งจังหวัด
                             เมืองนาอยู หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณดินและน้ำเหมาะกับ

                  การเกษตร เปนเมืองสิ่งแวดลอมดีอากาศบริสุทธิ์นาอยูและมีสังคมที่ดีคือ สังคมอุดมปญญา สังคมเอื้ออาทร
                  ตอกัน สังคมแหงโอกาสสำหรับทุกคน สังคมเปนธรรมและเทาเทียม สังคมคุณธรรมเขมแข็ง และเปน
                  สังคมแหงความเกื้อกูลแบงปน เปนตนแบบสังคมแหงสุขภาวะที่มีคุณภาพระดับประเทศ ประชาชนมี

                  คุณภาพชีวิตที่ดีดวยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพึ่งตนเองได
                             เมืองนากิน หมายถึง จังหวัดมีความอุดมสมบูรณของแหลงอาหาร ชุมชน ประชาชนมี
                  ความมั่นคงทางอาหารสูง วัฒนธรรมและอาหารการกินสามารถสรางรายไดสรางงานอาชีพใหกับชุมช
                             เมืองนาเที่ยว หมายถึง จังหวัดเพชรบุรีมีความโดดเดนของการจัดการอุตสาหกรรมการ
                  ทองเที่ยวแบบครบวงจร เปนเมืองที่นาเที่ยวของประเทศในดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศนทางทะเลและ

                  ปาเขา การทองเที่ยวเชิงการเรียนรูโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
                  การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ประวัติศาสตรและศาสนา
                             โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จตามเปาหมายการพัฒนาจังหวัด เพื่อเปนศูนยกลางดานเกษตร

                  และอุตสาหกรรม เมืองทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ สังคมมีความเขมแข็ง และสิ่งแวดลอมที่ดี
                  ภายในป พ.ศ. 2565 โดยมีประเด็นการพัฒนาจังหวัด 2 ประเด็น ดังนี้
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174