Page 173 - Phetchaburi
P. 173

4-11





                  ที่จะพัฒนาตอยอดได ไดแก กลุมอุตสาหกรรมอาหารเกษตรและไบโอเทคโนโลยี (Food, Agriculture &

                  Bio-tech) กลุมอุตสาหกรรมเพื่อสุขภาพ (Health , Wellness & Bio-Medical) กลุมอุตสาหกรรมอุปกรณ
                  อัจฉริยะ และหุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม (Smart Devices Robotics & Mechatronics) กลุมอุตสาหกรรม
                  ดิจิทัลพัฒนาระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีสมัยใหม (Digital&Embedded Technology) และ

                  กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค และการเพิ่มมูลคาการบริการ (Creative, Culture &High Value Service)
                  ซึ่งอุตสาหกรรมดังกลาวจะทำใหประเทศไทยเติบโตอยาง มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน อยางไรก็ตามในปลาย
                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นี้ รัฐบาลมีเปาหมายใหภาคเศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ย
                  รอยละ 5 เพื่อเปนแรงกระตุนใหประเทศหลุดพนจากกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่มี

                  รายไดสูงในปลายแผนพัฒนาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ตอไป นอกจากนี้ ยังมี
                  เปาหมายการสรางความเขมแข็งในภาคเศรษฐกิจรายสาขา ประกอบดวย การขยายตัวในภาคการเกษตร
                  รอยละ 3 ภาคอุตสาหกรรม รอยละ 4.5 และภาคบริการ รอยละ 6 การบรรลุเปาหมายดังกลาวจะทำได
                  สำเร็จตองเกิดจากความรวมมือของทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สถานศึกษาและสถาบัน

                  การเงินตางๆ ที่จะมาทางานรวมกัน โดยอาศัยแนวทางการขับเคลื่อนที่สำคัญคือ“แนวทางประชารัฐ”
                  เปาหมายการพัฒนาดังกลาวสอดรับกับจังหวัดเพชรบุรีซึ่งเปนจังหวัดที่มีพื้นที่ทางการเกษตร และมีรายได
                  จากภาคการเกษตรเปนอันดับหนึ่งของกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 มีรายไดจากภาคการเกษตรถึง
                  9,736 ลานบาท ในป พ.ศ. 2562 และเมื่อพิจารณาถึงมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดในป พ.ศ. 2562

                  พบวา มูลคาเศรษฐกิจดานการเกษตรคิดเปนรอยละ 13.01 ของมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ดังนั้น
                  การสรางเสริมศักยภาพการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสรางผลิตภาพและมูลคาเพิ่มของสินคาเกษตร
                  และผลิตภัณฑชุมชนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของจังหวัดเพชรบุรี จึงเปนกลไกสำคัญประการหนึ่ง
                  ที่จะทำใหการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดเพชรบุรี เปนภาคสวนสำคัญที่จะขับเคลื่อนทำใหเกิดการขยายตัว

                  ในภาคเศรษฐกิจที่ตอบสนองตามเปาหมายของการพัฒนาในระดับประเทศไดตอไป
                        จังหวัดเพชบุรี เปนการที่มุงเนนในการสงเสริมและพัฒนากิจกรรมการทองเที่ยว พัฒนา/ปรับปรุง
                  ภูมิทัศนแหลงทองเที่ยวและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเชื่อมโยงเสนทางการคา การลงทุนและการทองเที่ยว
                  ประกอบดวยกิจกรรม มหกรรมทองเที่ยววัฒนธรรมชุมชนเมืองเพชรบุรี สงเสริมการทองเที่ยวเชิง

                  ประวัติศาสตรพระนครคีรี-เมืองเพชร พัฒนาแหลงทองเที่ยว กอสราง/ปรับปรุงทางสะพานเพื่อเชื่อมโยง
                  เสนทางการคา การลงทุนและการทองเที่ย เพราะมีศักยภาพสูงในการเปนแหลงทองเที่ยวที่มี
                  ความหลากหลายทั้งทรัพยากรธรรมชาติ (ภูเขา สัตวปาและพันธุพืช แมน้ำ ฯลฯ) สถานที่ทางประวัติศาสตร

                  ศิลปวัฒนธรรมและมีความพรอมดานบริการมีความเปนอัตลักษณมีสินคา OTOP และกิจกรรม
                  นันทนาการที่ภาคเอกชนไดริเริ่มเปนแหลงผลิตสินคา และอาหาร โดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตร
                  และมีความพรอมในดานการบริการการทองเที่ยว ตามนโยบายของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
                  ไดกำหนดนโยบายขอ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแขงขันของไทย ขอ 5.5 การพัฒนา
                  ภาคการทองเที่ยว 5.4.1) พัฒนาคุณภาพและความหลากหลายของแหลงทองเที่ยว โดยสงเสริมพัฒนา

                  ใหประเทศไทยเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพระดับโลกที่มีเอกลักษณโดดเดนพื้นฐานของวัฒนธรรมไทย
                  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการจัดการขยะและของเสียเพื่อใหเกิดความยั่งยืนของ
                  ระบบนิเวศ สิ่งแวดลอมและชุมชนทองถิ่น รวมทั้งพัฒนาการทองเที่ยวในรูปแบบหลายประเทศจุดมุงหมาย

                  เดียวกัน การพัฒนาแหลงทองเที่ยวในเชิงกลุมพื้นที่เมืองหลักและเมืองรองที่มีศักยภาพ การทองเที่ยวเชิง
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178