Page 177 - Phetchaburi
P. 177

4-15





                             8) มีตลาดกลางการเกษตร จำนวน 2 ตลาด ซึ่งสามารถรองรับสินคาเกษตรของจังหวัดได

                             9) มีโครงการพระราชดำริที่เกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรในการปรับปรุงสภาพแวดลอม
                  ของจังหวัดและจังหวัดเพชรบุรีมีโครงการพระราชดำริ โครงการตามพระราชประสงคที่เปนแหลงศึกษา
                  เรียนรูดานการเกษตรมากที่สุดในประเทศมีสหกรณการเกษตรที่เขมแข็ง เชน สหกรณเขายอย, สหกรณ

                  บานลาด, สหกรณทายาง, สหกรณโคนมชะอำ
                             10) มีทุนทรัพยากรพื้นที่ที่พรอมในการรองรับทางการคา การลงทุนที่หลากหลายทั้ง
                  ภาคอุตสาหกรรมและการเกษตรธุรกิจและเศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตจากภาคเกษตร, การทองเที่ยว
                  อุตสาหกรรม (700 โรง) เหมืองแร มีสินคาเกษตรที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน เปนแหลงผลิตเกลือ ที่มากที่สุด

                  มีสินคาเดน เชน น้ำตาลโตนด ชมพูเพชร รายไดเฉลี่ยของประชากรเปนลำดับ 3 ของภาคตะวันตก
                             11) มีสถาบันการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา มีมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง
                  มหาวิทยาลัยนานาชาติ ในพื้นที่
                             จุดออน (Weaknesses)

                            1) การเตรียมบุคลากรรองรับการยกระดับการทองเที่ยวยังไมเพียงพอ ขาดแคลนบุคลากร
                  ทางการทองเที่ยวที่รองรับการบริการนานาชาติ (ทักษะภาษา บุคลิกภาพ ทักษะการบริการ) และระบบ
                  การจัดการแหลงทองเที่ยวและความพรอมของแหลงทองเที่ยวในการรองรับนักทองเที่ยว อาทิสถานที่
                  จอดรถ การเปด-ปด ของแหลงทองเที่ยว (วัด) ความสะอาดของแหลงทองเที่ยว ยังไมไดรับการพัฒนาให

                  เปนระบบ อยางสมคุณคาเมืองทองเที่ยว
                             2) การเตรียมพรอมเมืองทองเที่ยวยังขาดการจัดการภูมิทัศนทางการทองเที่ยว การจัด
                  ระเบียบ ความสะอาดในสถานที่ทองเที่ยว การสื่อสาร การประชาสัมพันธการทองเที่ยว ขาดแคลนปายชี้ทาง
                  และปายสื่อความหมายของแหลงทองเที่ยวขาดการจัดระเบียบปายประชาสัมพันธตางๆ สงผลกระทบ

                  ตอทัศนียภาพของแหลงทองเที่ยวระบบการโลจิสติกสทางการทองเที่ยวยังไมไดเชื่อมโยงอยางเปนระบบ
                  การเดินทางเขาถึงแหลงทองเที่ยวยังไมมีรถโดยสารสาธารณะเดินทางไปยังแหลงทองเที่ยวตางๆ
                  เหลานั้นกลไกของรัฐเพื่อจัดการการทองเที่ยวยังออนแอ ขาดเอกภาพ ขาดการมีสวนรวมของประชาชน
                             3) เกษตรกรไมมีความเขมแข็ง เชน การรวมกลุมที่ไมรวมกันอยางแทจริง ยังเห็นประโยชน

                  สวนตัวเปนหลัก,ความสามารถตามการตลาด(ผลิตใหแตขายไมเปน)นวัตกรรมการเกษตรยังไมมีการพัฒนา
                  ที่ดีพอโดยเกษตรกรยึดวิธีการผลิตแบบเดิมไมมีการพัฒนาทางดานการผลิต ทำใหไมมีความสามารถใน
                  การแขงขันดานการผลิตทำใหไมมีความสามารถในการแขงขันดานการผลิตที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน

                             4) การปรับเปลี่ยนทัศนคติของเกษตรกรใหทำเกษตรสมัยใหมทำไดยาก เชน แปลงใหญ,
                  เกษตรปลอดภัย, เกษตรอินทรีย, การลดตนทุนโดยใชสารชีวภาพแทนสารเคมี,การทำการเกษตรแบบ
                  ผสมผสานและเกษตรทฤษฎีใหม และการประชาสัมพันธสินคาเกษตรของจังหวัดหรือการสรางเครือขาย
                  ไมแพรหลาย
                             5) พื้นที่การเกษตรลดลงเนื่องจากชุมชนเมืองที่เพิ่มขึ้นภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นและวิถี

                  ชีวิตเปลี่ยนแปลงสภาพดินมีความเสื่อมโทรมจากการใชสารเคมีในการผลิต มีการประกอบธุรกิจที่ไมเห็น
                  คุณคาและใหความสำคัญในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมของจังหวัด
                             6) ผลสัมฤทธิ์ในภาครวมทางการศึกษาขั้นพื้นฐานยังไมบรรลุเปาหมายที่กำหนดความ

                  ตื่นตัวในการเรียนรู และการพัฒนาตนเองของประชาชนยังกาวไมทันการเปลี่ยนแปลง มีปญหาทาง
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182